การบริหารเมืองอัจฉริยะแบบเสมือนจริงร่วมกับความมั่นคงปลอดภัยแห่งชาติ แบบครบวงจร เพื่อนำประเทศก้าวสู่ไทยแลนด์ 4.0
การติดตามจุดความร้อนจากการเผาเศษวัสดุทางการเกษตร เพื่อดำเนินการลดผลกระทบตามมาตรการแก้ไขปัญหาหมอกและควันไฟข้ามแดน
การเตรียมพร้อมของอุตสาหกรรมและโครงสร้างพื้นฐานของโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรง (Disruptive Technology)
รูปแบบที่เหมาะสมในการแปรรูปขยะเป็นเชื้อเพลิงทดแทน Refuse Derived Fuel (RDF)ของหน่วยงานในพื้นที่กองทัพอากาศดอนเมือง
ผลกระทบของการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศครั้งที่ 21 (COP21) ต่อแผนบูรณาการพลังงานระยะยาวของไทย
การนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้สร้างความมั่นคงอย่างยั่งยืนในพื้นที่กันชน เขตผืนป่าอนุรักษ์ : ศึกษากรณีป่าห้วยขาแข้ง
แผนยุทธศาสตร์เพื่อลดผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อความมั่นคงในมิติด้านเกษตร สาธารณสุข และเศรษฐกิจ
แนวทางการสืบสวนทางนิติวิทยาศาสตร์โดยใช้โปรแกรมอ่านใบหน้า(Facial Recognition) ในงานด้านความมั่นคงอย่างบูรณาการ
การบริหารจัดการว่าด้วยการอนุรักษ์และพัฒนาการใช้ประโยชน์พื้นที่ เพื่อความยั่งยืนของทรัพยากร กรณีศึกษา : พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย เกาะแสมสาร และเกาะใกล้เคียง
แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศการตรวจติดตาม เพื่อรองรับ e-Surveillanceกรณีศึกษา กองตรวจมาตรฐาน สำนักงานมาตรฐษนผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
การบูรณาการการใช้คลื่นความถี่เพื่อสนับสนุนภารกิจป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำหรับการติดต่อสื่อสารแบบเสียงและข้อมูลความเร็วสูง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพเพื่อความมั่นคงและการเติบโตแบบยั่งยืนที่ทุกคนมีส่วนร่วม
เทคโนโลยีระบบ Heat Recovery Chiller กับการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ศึกษากรณี ภาคอุตสาหกรรมโรงแรม และโรงพยาบาล
แนวทางในการบริหารจัดการเพื่อฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ของไทย แบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
รูปแบบการนำโซลาร์เซลล์มาใช้กับระบบประปาหมู่บ้านเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้งซ้ำซากในเขตชุมชนพื้นที่ชนบท จังหวัดราชบุรี
การพัฒนาโปรแกรมการคำนวณระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ เพื่อเป็นแนวทางเสริมสร้างความมั่นคงของหน่วยงานกองทัพบก
แนวทางการปรับบทบาทของกระทรวงการต่างประเทศในการเสริมสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศในด้านด้านการทูตวิทยาศาสตร์
แนวทางในการพัฒนาธุรกิจการผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติทางด้านพลังงาน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความคิดเห็นต่อการที่ทหารมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมช่วงการบริหารงานของ คสช.
แนวทางการบริหารจัดการ การผลิตพลังงานฟ้าจากขยะ โดยระบบเตาเผาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยในเขตภาคกลางและเขตการปกครองพิเศษ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Radio Frequency Identification (RFID) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพนโยบายสาธารณะ : กรณีศึกษาประสิทธิภาพมาตรการลอยตัวและการควบคุมก๊าซธรรมชาติ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการผลิตกระแสไฟฟ้าของภาคเอกชน เพื่อความมั่นคงแห่งชาติด้านการพลังงาน ศึกษาเฉพาะกรณี บริษัทอมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด
ทางรอดหนึ่งของอุตสาหกรรมไทย : แนวคิดการจัดตั้งหน่วยงานประเมินความเสี่ยงความปลอดภัยด้านอาหารของประเทศไทย
การวางแผนการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาช้างป่าออกนอกพื้นที่ : กรณีศึกษาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน
แนวทางการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะของกองทัพอากาศอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน กรณีศึกษาหน่วยงานในพื้นที่กองทัพอากาศดอนเมือง