เรื่อง: แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และการใช้ประโยชน์ทรัพยาป่าชายเลน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ศักดิ์ดา วิเชียรศิลป์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการอนุรักษ ฟนฟู และการใชประโยชนทรัพยากรป#าชายเลน
ลักษณะวิชา ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี
ผูวิจัย ผูวิจัย นายศักดิ์ดา วิเชียรศิลป- หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุนที่ รุนที่ รุนที่ ๕๙
ป#าชายเลน คือสังคมพืชที่ประกอบดวยพันธุไมหลายชนิด หลายตระกูล เป5นสังคมพืช
ไมผลัดใบ ขึ้นอยูตามชายฝ:;งทะเลที่มีน้ําทะเลทวมถึง อาว หรือหาดเลน เป5นแหลงที่อยูอาศัยสําคัญของ
สิ่งมีชีวิต ทั้งที่อาศัยอยูในป#า อาศัยอยูตามชายฝ:;ง และอาศัยอยูในทะเล เนื่องจากป#าชายเลนเป5นแหลง
อาหาร ที่หลบภัย และยังเป5นแหลงที่อยูอาศัยของสัตวน้ําหลายชนิด เป5นที่วางไข เป5นแหลงอาหารเพื่อ
การเจริญเติบโตของสัตวน้ําวัยออน นับวาป#าชายเลนเป5นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง เดิม
ป#าชายเลนมีพื้นที่ 2,299,375 ไร และลดลงอยางตอเนื่อง ตลอดระยะเวลาที่ผานมาไดมีการเปลี่ยนแปลง
และมีการใชประโยชนจากกิจกรรมตางๆ มาโดยตลอด สาเหตุสําคัญหลายประการ ไดแก การเพาะเลี้ยง
สัตวน้ํา การทํานาเกลือ การขยายตัวของเขตเมือง การทองเที่ยวและการอุตสาหกรรม โดยในปG พ.ศ.
2539 พบวาเหลือพื้นที่ป#าชายเลนมีอยูเพียง 1,047,390 ไร ตอมาสภาพแวดลอมที่เสื่อมโทรมประกอบ
กับความผันผวนของราคากุง ทําใหผูเลี้ยงจํานวนมากเลิกกิจการไป ทําใหเปลี่ยนการบุกรุกทําลายโดยการ
เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เป5นการเขาทําประโยชนเพื่อที่อยูอาศัย การเกษตร การทองเที่ยว และ พ.ศ. 2557
พบวามีพื้นที่ป#าชายเลน 1,534,584 ไร จึงจําเป5นตองกําหนดหาแนวทางอนุรักษทรัพยากรป#าชายเลนที่
เหลืออยู รวมทั้งสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนเพื่อการอนุรักษตอไป
การมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมที่เกี่ยวของกับทรัพยากรป#าชายเลน พบวา มีการเขา
รวมกิจกรรมในการปลูกป#าชายเลนมากที่สุด รองลงมาคือ การเขารวมปฏิบัติงานสอดสองดูแลการทําลาย
ป#าชายเลน สวนกิจกรรมที่กลุมตัวอยางเขารวมนอยที่สุดคือ เขารวมในการติดตามและประเมินผลในการ
ประเมินคาความเสียหายที่จากการทําลายป#าชายเลน สวนความคิดเห็นตอมาตรการในการพัฒนา ฟนฟู
อนุรักษ และการใชประโยชนทรัพยากรป#าชายเลน พบวากลุมตัวอยางมีความคิดเห็นที่เห็นดวยกับ
มาตรการตางๆ ในระดับมาก โดยเห็นดวยมากที่สุดคือ การสงเสริมความรู และฝOกอบรมในการอนุรักษ
ทรัพยากรป#าชายเลน และมาตรการที่กลุมตัวอยางเห็นดวยนอยที่สุดคือ มาตรการการกําหนดระเบียบ
ขอบังคับ ในการใชประโยชนทรัพยากรป#าชายเลนในพื้นที่ ซึ่งแสดงใหเห็นวาภาคประชาชนเห็นดวยกับ
มาตรการของภาครัฐ โดยเฉพาะอยางยิ่งมาตรการที่กอใหเกิดประโยชนกับชุมชนในพื้นที่ สวนมาตรการทาง
กฎหมายชุมชนยังไมรูสึกเห็นดวยเทาที่ควร
abstract:
Abstract Abstract
Title Framework of Mangrove Conservation, Rehabitation and Use
Field Science and Technology Field
Name Mr. Sakda Vicheansil Course NDC Class 5 Name 9
Mangrove is a plant community, consists of diverse plant species and
genus, where lives in the coastal intertidal zone, bay, or mud flat. It is an evergreen
forest. There are many organisms living in mangrove habitat. Mangrove provides food
sources, shelter, nursery and spawning grounds for animals. It has highly biological
diversity. In the past few decade years, mangrove forest existed about 2,299,375 rai
(766,458.33 acres) in Thailand. Unfortunately, the existing mangrove forest had
been gradually decreased because of human activities. The severely degraded
mangroves due to the rising of aquaculture, salt farms, urbanization, tourism, and
industry development. In 1996 (2539 B.C.), the mangrove forest remained only
about 1,047,390 rai (349,130 acres). As of lately, the environmental degradation
and shrimp prices fluctuation had adverse effects on mangrove. The shrimp farmers
leave their farm and encroached the forest for settlement and agriculture. In 2014
(2557 B.C.), the mangrove forest existed only 1,534,584 rai (511,528 acres). That
is the reason why Thailand has to define the framework for conserving existing
mangrove accordance with public participation.
Mostly, the communities would like to participate or involve in the
activities regarding mangrove conservation. They were also willing to be part of forest
rangers and monitoring and evaluation for forest damage, respectively. They
concretely agreed with the measures of mangrove development, rehabilitation,
conservation, and uses. Knowledge enhancement and training were become a
measurement accepted by communities. Law enforcement and other regulations
were not being supported by communities. The conclusion of the study is that the
communities would agree with the government’s measures; however, they would
likely disagree if the government would enforce the law in order to oblige the
communities.