Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การบริหารจัดการน้ำลุ่มน้ำเจ้าพระยาในสภาวะวิกฤติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการศึกษา/Education
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ทองเปลว กองจันทร์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย อ บทคัดย อ เรื่อง การบริหารจัดการน้ําลุ มน้ําเจาพระยาในสภาวะวิกฤติ เรื่อง การบริหารจัดการน้ําลุ มน้ําเจาพระยาในสภาวะวิกฤติภัยแลง ภัยแลง ลักษณะวิชา วิ ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร(และเทคโนโลยี ยาศาสตร(และเทคโนโลยี ยาศาสตร(และเทคโนโลยี ผูวิจัย นายทองเปลว กองจันทร( ผูวิจัย นายทองเปลว กองจันทร( นายทองเปลว กองจันทร( หลักสูตร วปอ. หลักสูตร วปอ. หลักสูตร วปอ. รุ นที่ 59 รุ นที่ 59 รุ นที่ 59 การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค(เพื่อวิเคราะห(ปริมาณน้ําต่ําสุดที่จําเป3นตองใช ในกิจกรรมการใชน้ําประเภทต างๆ เพื่อประเมินความพึงพอใจในมาตรการช วยเหลือเกษตรกรผูประสบป5ญหา การขาดแคลนน้ํา และเพื่อนําเสนอแนวทางการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤติและมาตรการช วยเหลือ ผูประสบภัยแลงไดอย างมีประสิทธิภาพ โดยศึกษาวิเคราะห(กระบวนการ รูปแบบ และลักษณะของ ยุทธศาสตร(ชาติและนโยบายการบริหารจัดการน้ําของไทย โดยมุ งเนนการวิเคราะห(ความชัดเจน ความ เฉพาะเจาะจง ความสามารถในการแปลงนโยบายไปสู แผนการปฏิบัติความเหมาะสมของเนื้อหากับ กรอบเวลา การวิจัยครั้งนี้รวบรวมขอมูลทุติยภูมิดานการวางแผนพัฒนาแหล งน้ําและการบริหาร จัดการน้ํา รวมทั้งการสัมภาษณ(เชิงลึกกับผูเชี่ยวชาญดานการบริหารจัดการน้ํา การจัดประชุมกลุ ม ย อยกับกลุ มขาราชการที่ปฏิบัติงานดานการบริหารจัดการน้ําและกลุ มเกษตรกร การสัมภาษณ(ตาม แบบสอบถามจากกลุ มขาราชการและกลุ มเกษตรกรในเขตพื้นที่ลุ มน้ําเจาพระยาจํานวน 1,025 ตัวอย าง กระจายในพื้นที่ 13 จังหวัด ของสํานักงานชลประทานที่ 10, 11, และ 12 และใชเครื่องมือทางสถิติ ในการวิเคราะห(ผลการวิจัย จากผลการศึกษาพบว า ปริมาณน้ําต่ําสุดที่จําเป3นตองใชในกิจกรรมการใชน้ําประเภทต างๆ ใน ลุ มน้ําเจาพระยามีค าเท ากับ 18 ลานลูกบาศก(เมตรต อวัน คิดเป3นปริมาณน้ําเพื่อการอุปโภค-บริโภค การ รักษาระบบนิเวศ และการเกษตรต อเนื่องเท ากับ 7, 8, และ 3 ลานลูกบาศก(เมตรต อวัน ตามลําดับ ดังนั้นจึงควรสํารองน้ําตนทุนอย างนอย 3,258 ลานลูกบาศก(เมตร เพื่อใหเพียงพอสําหรับไวใชในช วงฤดู แลง และควรสํารองเพิ่มอีก 1,098 ลานลูกบาศก(เมตร เผื่อสําหรับกรณีฝนทิ้งช วงในช วงเดือนพฤษภาคม ถึงมิถุนายน รวมเป3น 4,356 ลูกบาศก(เมตร ดังที่เกิดขึ้นในช วงปH 2559 สําหรับมาตรการใหความช วยเหลือเกษตรกรผูประสบป5ญหาการขาดแคลนน้ําในปH 2558 จากผลการศึกษาพบว า เกษตรกรมีความพึงพอใจในระดับมากต อมาตรการชะลอหรือขยายระยะเวลา ชําระหนี้ที่เกษตรกรมีภาระหนี้กับสถาบันการเงิน มาตรการเพิ่มปริมาณน้ําตนทุน มาตรการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใชน้ํา และมาตรการจางงานเพื่อสรางรายไดใหแก เกษตรกร โดยความคิดเห็นส วน ใหญ สรุปว าป5ญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการน้ําเกิดขึ้นจาก การขาดแคลนแหล งกักเก็บน้ํา/ ขาดแหล งน้ําตนทุน การบริหารจัดการน้ํา ประชาชน/เกษตรกรไม ใหความร วมมือ และการ ประชาสัมพันธ( โดยที่ความร วมมือของเกษตรกร/ประชาชนในการปฏิบัติตามกติกา คําแนะนําของ ภาครัฐ และความร วมมือการทํางานแบบบูรณาการของส วนราชการที่เกี่ยวของเป3นป5จจัยสําคัญที่สุด ในการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤติภัยแลง ทั้งนี้ ความพึงพอใจต อการบริหารจัดการน้ําของกรม ชลประทานในสภาวะวิกฤติที่ผ านพบว าอยู ในระดับปานกลางถึงมากที่สุดคิดเป3นรอยละ 93.46 ข แนวทางที่เหมาะสมสําหรับการบริหารจัดการน้ําในลุ มน้ําเจาพระยาในสภาวะวิกฤติ ภัยแลงในวิธีการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ต อการบริหารจัดการน้ําของลุ มน้ําเจาพระยาในสภาวะ วิกฤติภัยแลงไดอย างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ จะตองเตรียมการในดานต างๆ ประกอบดวย ดาน นโยบายการบริหารจัดการน้ํา ควรมีการทบทวน แกไข กฎระเบียบ/กฎหมายที่เกี่ยวของเกี่ยวกับการ เยียวยาช วยเหลือเกษตรกรผูประสบภัยพิบัติทางการเกษตรเพื่อใหสอดรับกับการปฏิบัติงานในพื้นที่ และสามารถช วยเหลือไดทันต อสถานการณ( และควรมีระบบการบริหารจัดการสถานการณ(ภัยพิบัติใน รูปแบบของ Single command (หน วยงานกลาง) ส วนดานการบริหารจัดการน้ําตนทุนควรมีการ พัฒนาระบบบริหารจัดการความเสี่ยงจากภัยแลงในระดับชาติและระดับจังหวัดใหมีความเป3นเอกภาพ ควรมีการบูรณาการฐานขอมูลที่เกี่ยวของกับสถานการณ(ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และการพัฒนา เครื่องมือและการใชเทคโนโลยีสําหรับการบริหารจัดการน้ํา โดยผ านช องทางการแลกเปลี่ยนขอมูล และความร วมมือระหว างกลุ มนักวิทยาศาสตร( สําหรับดานบริหารจัดการความตองการใชน้ํา ควรมี การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) ใหสอดคลองกับปริมาณน้ําในอนาคต และการปลูกพืช อื่นๆ ที่ใชน้ํานอยแทนการทํานาปรัง และในดานการสรางองค(ความรู การมีส วนร วมและการ ประชาสัมพันธ( ควรมีการเสริมสรางองค(ความรูและทักษะในการจัดการเรียนรูที่เกี่ยวของกับการ ป_องกันและบรรเทาผลกระทบ มีการสรางกลไกเสริมสรางความรูและความเขาใจในทุกมิติของการ บริหารจัดการภัยพิบัติ มีการส งเสริมกระบวนการมีส วนร วมจากทุกภาคส วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน รวมทั้งการสรางช องทางการเตือนภัยและการเขาถึงขอมูลข าวสารโดยประยุกต(ใช สารสนเทศ และการสื่อสารสถานการณ(ภัยแลงต อสาธารณชนใหรับรูและเขาใจ เพื่อใหเกิดความ ตระหนักและเขาใจบทบาทหนาที่ของตนเองในการปรับตัวและเตรียมพรอมเพื่อบรรเทาผลกระทบ

abstract:

1 Abstract Abstract Title Water Management for Title Water Management for Water Management for the Chao Phraya River Basin in Crisis Chao Phraya River Basin in Crisis Chao Phraya River Basin in Crisis Field Field Science and Technology Science and Technology Science and Technology Name Mr Name Mr.Thongplew Kongjun Thongplew Kongjun Thongplew Kongjun Course NDC ourse NDC ourse NDCClass 59 Class 59 Class 59 The purpose of this research has three specific objectives: 1) to analyze the minimum water demand for all activities, 2) to evaluate the satisfaction of farmers according to the measures of the Ministry of Agriculture and Cooperatives for helping farmers affected from water scarcity, and 3) to propose the guidelines for water management in crisis. The research takes into account the national strategy and water resources management policies in Thailand. The study emphasizes on clarification, specification and plausibility that can transform the proposed ideas into the action plans in line with the content and timeframe. The secondary data relating to water resources development and water management plan were reviewed from various reliable sources. In-depth interviews with experts on water management, and two focus group meetings, officials and farmers group, were conducted. Face to face interview of 1,025 sampled residents in the Chao Phraya River Basin covering 13 provinces in which under the responsible areas of the Regional Irrigation Office 10, 11, and 12 was carried out. Data were analyzed using a statistical software package. The study found that the daily minimum water demand for all activities was 18 million cubic meters (MCM) divided for consumption, maintaining ecosystem, and sequential cropping 7, 8, and 3 MCM. respectively, therefore the water should be reserved at least 3,358 MCM for dry season plus 1,098 MCM in case of dry spell during May to June as existed in 2016. To conclude, water should be stored about 4,356 MCM. To evaluate satisfactory measures for helping farmers who faced with water shortage problem in 2015, it was found that farmers were satisfied with high level in many measures namely postponement or extension of time for farmers’ liquidation, increasing of water supply, increasing of water use efficiency, and farmers’ employment for increasing their own income. In addition, most respondents concluded that the problems and constraints for water management were insufficiency of water storage, water management, lacking of cooperation from people and farmers, and deficiency of public relations. Whiles cooperation from people and farmers to follow suggestions from government sectors were most important for water management in crisis. In conclusion, the satisfaction of water management of the Royal Irrigation Department was rated medium to high level about 93.46%. 2 The guidance for water management and measures to help farmers in drought crises were noted as the Good Practice so that the relevant solutions in this study were effectively applicable for any existence of drought problems in the future. For example, water management policy, rules and regulations should be revised to promptly help farmers who got effects from drought problems, and management in crisis situation should be ordered as the single command. For supply side management, risk management system should be developed in national and provincial level; data from various sources must be collected and integrated. Tools and Technology in water management should be exchanged and joined hand among scientists to enhance water management capacity. For demand side management, agricultural zoning should be done in order that amount of water can be calculated and provided based on water storage in the future. In addition, plants that use less water should be promoted to the farmers instead of growing paddy. For building body of knowledge, cooperation and public relations, knowledge and skills relating to protection and alleviation from disaster should be enhanced in order that people can cope with crisis situation, including encouragement of participation from various sectors namely government, private, and civil society. This includes creating warning system so that people can understand and aware of the situation and be able to access right information. This will help them to prepare themselves for crisis situation in due time.