Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้สร้างความมั่นคงอย่างยั่งยืนในพื้นที่กันชน เขตผืนป่าอนุรักษ์ : ศึกษากรณีป่าห้วยขาแข้ง

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการศึกษา/Education
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย นพดล พลเสน
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การน าแนวคดิเศรษฐกจิพอเพยีงมาประยุกต ์ใช้สร้างความมนั่ คงอย่างยั่งยืน ในพ ื น้ ทกี่ นั ชน เขตผ ื นป่าอนุรักษ ์: ศึกษากรณีป่ าห้วยขาแข้ง ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วจิัย นายนพดล พลเสน หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่60 การวจิยัคร้ังน้ีมีจุดมุ่งหมายในการวิจยัเพื่อศึกษาเพื่อศึกษาวิกฤตการณ์ทรัพยากรป่ าไม้ใน ประเทศไทย และอนุรักษ์ป่ าไม้แนวคิดการบริหารจดัการทรัพยากรป่าไมอ้ย่างยงั่ ยืนเพื่อเสนอแนว ทางการน าแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) มาบริหารจดัการพ้ืนที่กันชน (Buffer Zone) นา ไปสู่การพฒั นาอยา่ งมนั่ คงและยงั่ ยืน (Sustainable development) ในเขตพ้ืนที่ป่าห้วย ขาแข้งใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษารวบรวมข้อมูลและน ามาวิเคราะห์ข้อมูล แนวคิดการพฒั นาที่สามารถนา มาประยุกต์ใช้เป็นพ้ืนฐานในการพฒั นาพ้ืนที่กนั ชน คือ แนวคิดการพฒั นาที่ยงั่ ยืน (Sustainable Development) ซ่ึงมีหลกั ส าคญั คือการให้ความส าคญั สูงสุดแก่ คุณค่าของสิ่งแวดลอ้ ม หรือความยงั่ ยืนของสิ่งแวดลอ้ ม ความยงั่ ยืนทางเศรษฐกิจ ตลอดจนความยงั่ ยืน ทางสังคม อีกหน่ึงแนวคิด คือการพฒั นาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง(Sufficiency Economy) เป็ น ปรัชญาที่ช้ีถึงการดา รงชีวิต และการปฏิบตัิตนของประชาชน ให้ดา เนินไปบนทางสายกลาง(Middle Path)ความพอเพียงในที่น้ีหมายถึงความพอประมาณ(Moderation)ความมีเหตุผล (Reasonableness) ความจา เป็นที่จะตอ้งมีระบบคุม้กนั ในตวั (Self-insulation)ที่ดีพอสมควรต่อการรองรับผลกระทบใดๆ อนั เกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้งัจากภายใน และภายนอก พ้ืนที่ป่าห้วยขาแขง้ เป็นพ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติดา้นทิศตะวนัออกในรัศมี5กิโลเมตรจาก แนวเขตรักษาพนัธุ์สัตวป์่าหว้ยขาแขง้ ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ดา้นเดียวที่เป็นอนั ตรายต่อเขตรักษาพนัธุ์สัตวป์่าหว้ย ขาแขง้ และ พ้ืนที่อยู่อาศยัของราษฎรเพื่อป้องกนั เขตรักษาพนัธุ์สัตวป์่าห้วยขาแขง้ เขตรักษาพนัธุ์สัตว์ ป่ าห้วยขาแข็งเป็ นเขตรักษาพนัธุ์สัตวป์่าขนาดใหญ่แห่งหน่ึง ต้งัอยใู่ นจงัหวดัอุทยัธานี จากการศึกษาการบริหารจดัการพ้ืนที่แนวเขตกนั ชนรอบผนื ป่าอนุรักษห์ ว้ยขาแขง้ตอ้ง มุ่งเนน้การบริหารจดัการพ้ืนที่เกษตรกรรมดว้ยการพฒั นาอาชีพของเกษตรกรในแนวเขตกนั ชนรอบ พ้ืนที่ป่าอนุรักษม์ ีการวางแผนบูรณาการร่วมกนั ส่งเสริมให้ราษฎรมีส่วนร่วม และจัดการทรัพยากร ด้วยตนเองโดยให้น าแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการเกษตรอินทรีย์ มาบริหารจัดการ

abstract:

ABSTRACT Title The way to apply Sufficiency Economy Philosophy in creating sustainable security for buffer zone in preservation forest: the case study of Huay Kha Khaeng forest. Field Science and Technology Name Mr. Nopadol Phonsen Course NDC Class 60 The research’s objectives are the studies of forest crises in Thailand and forest conservation as well as concept of sustainable forest management in order to present the approaches to apply the sufficiency economy philisophy administer buffer zones that could potentially lead to secure and sustainable development in Huay Kha Khaeng forest area. The research utilizes the qualitative approach by collecting data and analyzing. The development concept the can be applied to the buffer zone development are the sustainable development that emphasizes the values of environmental sustainability, economic as well as social sustainability. Another concept is the sufficiency economy that is the philosophy for life conducts of general peoples through the middle path way including moderation, reasonableness and self-insulation from the internal and external impacts. Huay Kha Khaeng forest area is national reserved forest 5 Km. on east side from the area of HuayKhaKhaeng Wildlife Sanctuary. It is only one side that is dangerous and weak to the sanctuary and community areas that are important to protect the sanctuary. Huay Kha Khaeng Wildlife Sanctuary is one of the large wildlife sanctuary located in U-thaiThani province. The study finds that the management of buffer zone around Huay Kha Khaeng conserving forest must emphasize the agricultural area management by ways of professional development in the buffer zone around the conserving forest, integrated planning to enhance the people to participate in resources self- management , as well as proposing the approaches to bring sufficiency economy philosophy of organic farming in managing the buffer zone suitable for the sustainability of national development and administration.