เรื่อง: การบริหารจัดการน้ำในชั้นบรรยากาศของประเทศไทยอย่างมั่นคงและยั่งยืน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ปนิธิ เสมอวงษ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ บทคัดยอ
เรื่อง การบริหารจัดการน้ําในชั้นบรรยากาศของประเทศไทย อยางมั่นคงและยั่งยืน
ลักษณะวิชา ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร&และเทคโนโลยี (Science and Technology)
ผู:วิจัย ผู:วิจัย นายปนิธิ เสมอวงษ& หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุนทื่ รุนทื่ รุนทื่ 59
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค&เพื่อศึกษาและวิเคราะห& บทบาทในการบริหารจัดการน้ําในชั้น
บรรยากาศของกรมฝนหลวงและการบินเกษตร ซึ่งจะทําให:ทราบถึงปEญหา อุปสรรคและข:อจํากัดในการ
บริหารจัดการและเพื่อเสนอแนวทางในการเพิ่มบทบาทของกรมฝนหลวงและการบินเกษตร ซึ่งเปGน
หนวยงานหลักในการบริหารจัดการน้ําในชั้นบรรยากาศของประเทศ โดยเปGนแนวคิดในการปรับบทบาทใน
การบริหารจัดการน้ําในชั้นบรรยากาศของกรมฝนหลวงและการบินเกษตร เพื่อให:สามารถนําแนวทางไป
ปฏิบัติงานได:อยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และมีการพัฒนาไปสูการสร:างความมั่นคงและยั่งยืนได:
ตลอดจนการเสนอแนวทางบูรณาการ การบริหารจัดการน้ําในชั้นบรรยากาศของประเทศไทย อยางมั่นคง
และยั่งยืน
การวิจัยนี้ เน:นการวิจัยเฉพาะการเพิ่มบทบาทในการบริหารจัดการน้ําในชั้นบรรยากาศของ
ของกรมฝนหลวงและการบินเกษตร เพื่อให:การบริหารจัดการน้ําในชั้นบรรยากาศของประเทศไทยเปGนไป
อยางมั่นคงและยั่งยืน และการเพิ่มบทบาทในการบริหารจัดการน้ําในชั้นบรรยากาศของกรมฝนหลวงและ
การบินเกษตรกับหนวยงานตางๆที่เกี่ยวข:อง โดยเปGนเพียงการเสนอแนวคิดหรือหลักการในภาพกว:างตอ
การสร:างการบริหารจัดการน้ําในชั้นบรรยากาศ โดยไมพิจารณาลึกในรายละเอียดของการจัดการภายใน
ของหนวยงานที่รับผิดชอบหลัก โดยการศึกษา ทฤษฎี งานวิจัยและการสัมภาษณ&เชิงลึกผู:ทรงคุณวุฒิจาก
หนวยงานที่เกี่ยวข:องกับการบริหารจัดการน้ําในชั้นบรรยากาศของประเทศไทย
ผลการวิจัยและข:อมูลจากการสัมภาษณ& พบวากรมฝนหลวงและการบินเกษตรเปGนหนวยงาน
หลักที่มีภารกิจรับผิดชอบในการบริหารจัดการน้ําในชั้นบรรยากาศของประเทศ โดยได:กําหนดนโยบาย
ยุทธศาสตร& และแผนงานเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ําในชั้นบรรยากาศ 20 ปQข:างหน:า (ปQ 2560 -
2579)
ไว:ชัดเจน ซึ่งตอบรับกับยุทธศาสตร&ชาติ 20 ปQ โดยเน:นการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมที่ทันสมัย
ในการดัดแปรสภาพอากาศ และการมีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการของ
ประเทศ แตอยางไรก็ตามยุทธศาสตร&ของกรมฝนหลวงและการบินเกษตรในการบริหารจัดการน้ําในชั้น
บรรยากาศ 20 ปQข:างหน:า(ปQ 2560 -2579) ยังมีข:อแก:ไขปรับปรุงในบางประเด็นของแผนงาน
ดําเนินการ ตลอดจนการเพิ่มศักยภาพของบุคลากรภายในองค&กรทั้งด:านวิชาการ วิจัย พัฒนาเทคโนโลยี
นวัตกรรม และการบูรณาการกับหนวยงานที่เกี่ยวข:องทั้งภายในประเทศและนอกประเทศ
abstract:
ABSTRACT
Title The Security and sustainability of atmospheric water management
in Thailand
Field Science and Technology.
Name MR. PANITHI SAMERWONG Course CourseNDC. Class 59
Department of Royal Rainmaking and Agricultural Aviation (DRRAA) is the only
Thaigovernment agency responsiblefor atmospheric water management through rain making
operation for catchment and drought areas.Inthe past few years, Thailand has been affected
by the climate change and needed an increase of rainfall, through the rain making
operation.The performance of atmospheric water management can be improved for
effective managementby cooperating and integrating with other Thai government
agencies.DRRAA’s mission is to find solutions and develop a suitable and effective action
plan for rain making operation. This research aims to identify challenges and limitations of
atmospheric water management in Thailand by analysing DRRAA’s policy and action plan.
The results will be used for suggestion and implementation on increasing the role of
DRRAA’s on water management and to cooperate with other government agencies for
effective sustainable water management in Thailand.
The study shows that, the scopes of DRRAA’s action plan for the next 20 years
are similar toThailand's Strategic Plan(year 2017-2036).However, there are still some areas
of DRRAA’s action plan that should be improved on the following topics ofincreasing staff
capabilities in academic performance, researching, techniques development, technology
innovation, and integration with other related local and international agencies on security
and sustainability for water management.