Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการจัดการพลังงานหมุนเวียนในระดับชุมชน กรณีศึกษาพื้นที่ในจังหวัดนครสวรรค์

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการศึกษา/Education
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี บุญยืน อินกว่าง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง แนวทางการจัดการพลังงานหมุนเวียนในระดับชุมชน กรณีศึกษาพืนทีในจังหวัด นครสวรรค์ ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ้วิจัย ู พลตรี บุญยืน อินกวาง่ หลักสูตร วปอ. ร่นที ุ +, วัตถุประสงค์ของรายงานการวิจัยนี เพือทีจะศึกษาแนวทางการบริ หารการจัด การพลังงานหมุนเวียนในระดับชุมชนของจังหวัดนครสวรรค์ รวมถึงวิเคราะห์ปัจจัยด้านกายภาพ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรมอีกทังการบริหารจัดการทีมีผลต่อการบริหาร จัดการพลังงานหมุนเวียนในพืนทีจังหวัดนครสวรรค์เพือเส นอแนวท า งก า รบ ริหา รจ ัด การพลังงานหมุนเวียนทีเหมาะสมในระดับชุมชนของประเทศไทยโดยเลือกใช้แบบสอบถาม ผู้บริหารหรือเจ้าหน้าทีทีเกียวข้องของสํานักงานพลังงานในจังหวัดและเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ สัมภาษณ์ผู้นําชุมชนใน 15 อําเภอ (124 ตําบล) และคณะกรรมการพลังงานชุมชนทีเป็ นต้นแบบใน การผลิตพลังงานหมุนเวียน ผลการศึกษาพบวาในภาพรวมของจังหวัดนครสวรรค์ พลังงานชีวมวล ่ มีการนํามาใช้ในการผลิตพลังงานมากทีสุด โดยรูปแบบเทคโนโลยีทีใช้ในปัจจุบันก็เหมือนกนั เพียงแต่แตกต่างกนไปในการใช้วัสดุอุปกรณ์หรือรูปแบบเพือให้เหมาะสมก ั บชุมชนมากทีสุด เช ั ่น เตาเผาถ่าน ?@@ ลิตร เตาชีวมวลไม้ เตาซุปเปอร์อังโล่ และเตาแก๊สแกลบ เป็ นต้น รองลงมาเป็ น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานนํา ก๊าซชีวภาพ มีการนํามาใช้ผลิตพลังงานตามลําดับ ซึ งรูปแบบ เทคโนโลยีของพลังงานแสงอาทิตย์อยู่ในรู ปแบบใช้ Solar Cell ตู้อบแสงอาทิตย์เป็ นต้น ส่วนพลังงานนํา รูปแบบใช้โรงไฟฟ้ าพลังงานนํา ระหัดวิดนํา เป็ นต้น โดยพลังงานแสงอาทิตย์และ พลังงานนํา มีวัสดุอุปกรณ์และการสร้างทีมีความเฉพาะและเป็ นเทคนิคอยู่มาก ต้องมีการคํานวณ ออกแบบ โดยวิศวกรรมเพือนํามาผลิตพลังงานไต้ ปัจจุบันจึงได้รับความนิยมในการนํามาเป็ น เทคโนโลยีผลิตพลังงานน้อย แต่ก๊าซชีวภาพส่วนใหญ่ได้มาจากการหมักมูลสัตว์ทีมีอยู่ในชุมชน หรือเศษอาหาร เศษผักตบชวา เป็ นต้น ขึนอยู่กบพื ั นทีชุมชนบริเวณดังกล่าวมีวัตถุดิบอะไร และ พลังงานจังหวัดมีการดัดแปลงรูปแบบเทคโนโลยีให้ง่ายต่อการติดทัง โดยนําถังสําเร็จรูปมาทํา ระบบบ่อแทนการก่อสร้างทีซับซ้อน ดังนัน แนวทางการบริหารจัดการพลังงานหมุนเวียนใน ระดับประเทศไทยควรเริมต้นจากครอบครัวแล้วขยายต่อไปในชุมชนและกลายเป็ นจังหวัด แล้ว ค่อยๆ ขยายต่อไปเรือยๆ ในพืนทีใกล้เคียง และควรศึกษาความเหมาะสมตามศักยภาพ วัตถุดิบ ในชุมชน พร้อมทังประชาชนต้องมีความรู้ความเข้าใจด้านพลังงานหมุนเวียนแต่ละประเภทและข เทคโนโลยีพลังงานนันๆ และให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทุกขันตอน เพือปลูกฝังจิตสํานึก ให้ประชาชนรู้สึกถึงความเป็ นเจ้าของพลังงานในชุมชนของตนเอง อีกทังต้องอาศัยความร่วมมือ จากทุกฝ่ าย ทังภาครัฐ ภาคเอกชนภาคประชาชนเพือสร้างความเข้มแข็งและควรใช้ทรัพยากรทีมีอยู่ ในชุมชนอยางแท้จริง ่

abstract:

Abstract Title : To evaluate renewable every potential and finding a trail to progress for it in Nakhon sawan Field : Science and Technology Name : Major General Boonyuen Inkwang Course NDC Class !9 This is research has the aim for studying energy from renewable energy source. To evaluate renewable every potential and finding a trail to progress for it in Nakhonsawan. In the research has studied the renewable every such as such as Solar energy biological mass and biological gas. The results showed that in Nakhonsawan use renewable energy in communities and their use depend on their knowledge and support from government and private sectors in terms of knowledge, technology and guidelines. Biomass is the most used renewable energy for Nakhonsawan following by solar energy, hydro energy, wind energy, garbage energy biogas and geothermal energy. For biomass, vertical and horizontal charcoal kiln of 200 liters were the most used and for solar energy, solar cell and solar oven were employed. For hydro energy, it was used to produce electricity and used as water wheel. It was found that physical factors i.e. landscape is an important factor to support use of renewable energy in some communities especially the use of solar energy and hydro energy following by available raw materials in term of yield, and its sufficiency. Transportation factor also affects use of renewable energy at a medium level as raw materials should be available in communities. For social and cultural factors, a life style can help to support the renewable energy use. Additionally, belief and value factors have an influence on use of renewable energy. For economic factors, income and expense including occupation affect use of renewable energy. For management factor, sufficient knowledge and understanding and personal affect energy use. Budget and materials are in the present insufficient and so more support from the government and related units are required. All of the officers of each region thought that monitoring and assessing, participation of people and knowledge and understanding of people on renewable energy in community have effects on the use of renewable energy. Suggestions for management of renewable energy in Nakhonsawan are addressed. The use of renewable energy should be originated from community itself and then expand to areas nearby. 2 Appropriate and sufficient raw materials, community‘s ability and people participation in each step of the use of renewable energy are crucial. Awareness of people in community is also required to increase use of renewable energy. In addition, how to make people in community feel that they are owners of the energy in their community is necessary.