เรื่อง: การสร้างความมั่นคงทางการเงินภายหลังการเกษียณให้ข้าราชการไทยโดยผ่านกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว พศุตมณิชา จําปาเทศ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
- ก -
บทคัดย่อ
เรื่อง การสร้างความมั่นคงทางการเงินภายหลังการเกษียณให้ข้าราชการไทยโดยผ ่าน
กองทุนบ าเหน็จบ านาญข้าราชการ (กบข.)
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นางสาวพศุตม์ณิชา จ าปาเทศ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60
งานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเซิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาการบริหารงานด้านการส่งเสริมการออมเพิ่มของ กบข. ความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรม
และทัศนคติด้านการออม ด้านการวางแผนเพื่อสร้างหลักประกันและความมั่นคงทางการเงินภายหลัง
การเกษียณอายุโดยผ่านกองทุนบ าเหน็จบ านาญข้าราชการ (กบข.) โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างจากสมาชิก
กบข. 4 ประเภท ได้แก่ ประเภท ข้าราชการทหาร ข้าราชการต ารวจ ข้าราชการพลเรือน และข้าราชการ
ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน จ านวน 400 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การวิเคราะห์
เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การสอบถามเกี่ยวกับการส่งเสริมให้สมาชิกมีการออมเพิ่มจากผู้บริหาร
กบข. และใช้แบบสอบถามส าหรับการจัดเก็บข้อมูลด้านพฤติกรรม ทัศนคติ และการวางแผนการออม
รวมถึงความต้องการและคาดหวังให้มีการสนับสนุนส าหรับเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณอายุ
ของกลุ่มตัววอย่าง ส าหรับการวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์โปรแกรม
ส าเร็จรูป SPSS เพื่อหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เซิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า กบข. มีการส่งเสริมให้สมาชิกมีการออมเพิ่มในหลากหลายวิธี
แต ่การออมเพิ ่มของสมาชิกยังมีอัตราค ่อนข้างน้อย และกลุ ่มตัวอย ่างส ่วนใหญ ่มีการวางแผน
ทางการเงินแต่ไม่สามารถท าได้ตามแผนซึ่งเมื่อรวมกับกรณีไม่มีการวางแผนแล้ว มีมากถึงร้อยละ 79
ท าให้มีความเสี่ยงที่จะประสบปัญหาจ านวนเงินออมมีไม่เพียงพอส าหรับเป็นค่าใช้จ่ายซึ่งจะส่งผลต่อ
คุณภาพชีวิตภายหลังเกษียณ สาเหตุมาจากการขาดความตระหนักหรือใส่ใจเกี่ยวกับจ านวนเงิน
ที่ต้องเตรียมไว้ใช้ภายหลังเกษียณ การไม่สนใจที่จะตรวจสอบยอดเงินออมที่ได้สะสมไว้ กับ กบข.
การไม่ทราบข้อมูลเกี่ยวกับการให้ออมเพิ่มและอัตราผลตอบแทนที่ได้จากการออมในแต่ละแผน
การลงทุนของ กบข. การประมาณค่าใช้จ่ายหลังเกษียณน้อยเกินควร รวมถึงยังขาดความรู้และทักษะ
ด้านการวางแผนการออมและการลงทุน ประกอบกับหน่วยงานต้นสังกัดไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณ ดังนั้น เพื่อให้มีการสร้างความมั่นคงทางการเงินภายหลัง
การเกษียณโดยผ่านกองทุนบ าเหน็จบ านาญข้าราชการ กบข. ควรสร้างกลยุทธ์เพื่อส่งเสริมให้สมาชิก
มีการออมเพิ่มให้มากกว่าร้อยละ 3 ของเงินเดือน ภาครัฐควรเพิ่มแรงจูงใจส าหรับสมาชิกที่ออมเพิ่ม
และส่วนราชการต้นสังกัดควรให้ความรู้ความเข้าใจด้านการสร้างความมั่นคงทางการเงินภายหลัง
เกษียณให้กับข้าราชการบรรจุใหม่
abstract:
Abstract
Title : Establishment of Financial Security for Thai Officials after
Retirement through Government Pension Fund (GPF)
Field : Psychological Society
Researcher : Miss Pasutnicha Jumpathes Course : NDC Class : 60
This research is a qualitative research with the purpose to study the
management of the support of savings of Government Pension Fund (GPF), feedback
on behavior and attitude of savings, planning for collateral and financial security
after retirement through Government Pension Fund. The 400 samplings were selected
from four categories of Government Pension Fund members namely military officials,
police officers, civil servant, and State Audit Office officials. The tools used for this
research were document analysis, top management’s interview, and questionnaire
for collecting data on behaviors, attitudes and saving planning, including needs and
expectations to support for retirement readiness. SPSS computer processing was used
in data analysis to find mean, standard deviation, percentage, and content analysis.
The research found that Government Pension Fund has encouraged
members to have more savings in many ways but the savings rate of members was
still low. Most of the samples have financial planning but they can’t do as planned
and when the amount was combined with some samples who have no plans was up
to 79 percentages. This may cause risk in the amount of savings which might affect
quality of life after retirement. The cause of this action due to the lack of awareness
or consideration on amount of money saving after retirement, neglect to check their
savings information, ignorance of the data and yields in each investment plans and
less estimation as well. Furthermore, the lack of knowledge and skills in investment
planning and savings was also the trouble. Additional, their agencies did not participate
in retirement readiness. Therefore, to establish of financial security for Thai officials
after retirement through Government Pension Fund, Government Pension Fund should
create strategies to encourage members to save more than 3 percentages of their
salaries. Government should increase incentives for those who intend to save more
and their agencies should provide knowledge and understanding on financial security
after retirement to new officials as well.