เรื่อง: การจัดอาชีวศึกษาเพื่อความมั่นคงในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ปรีชา เวชศาสตร์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การจัดอาชีวศึกษาเพื่อความมั่นคงในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
จังหวัดชายแดนภาคใต้
ลักษะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย ดร.ปรีชา เวชศาสตร์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60
จากสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้รุนแรงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมา
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจที่ตกต่่า สถานประกอบการ ธุรกิจปิดตัว ประชาชน
ไม่สามารถด่ารงชีพในภาวะปกติท่าให้มีอัตราการว่างงานสูงกว่าค่าเฉลี่ยของระดับประเทศ ส่งผลให้
สัดส่วนคนจนมีสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ และพบว่าข้อมูล ผู้ส่าเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น
(ม.3) ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่นิยมเข้าศึกษาต่อสายอาชีพ นิยมเรียน
สายสามัญควบคู่ศาสนา งานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาสภาพการจัดอาชีวศึกษาและเพื่อพัฒนารูปแบบการจัด
อาชีวศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ การเพิ่มผู้เรียนสายอาชีพ และสร้าง
โอกาสให้ประชาชน เยาวชน เข้าถึงการจัดบริหารการจัดอาชีวศึกษาของภาครัฐที่เหมาะสมากับบริบท
ของพื้นที่ และเสนอแนวทางให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการจัดอาชีวศึกษาในระดับกึ่งฝีมือ (ฝึกวิชาชีพระยะสั้น)
กลุ่มเป้าหมาย ต้องเดินทางไกล มีจ่านวนสถานศึกษาให้บริการน้อย ไม่ครอบคลุมพื้นที่ งบประมาณมี
จ่ากัด ฝึกไม่ต่อเนื่อง รูปแบบการพัฒนา ควรมีศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพประจ่าอ่าเภอที่ห่างไกล และจัด
หลักสูตรที่สามารถฝึกได้อย่างต่อเนื่อง จนสามารถจัดตั้งกลุ่มอาชีพจดทะเบียนได้ 2) สภาพการจัด
อาชีวศึกษาในระดับฝีมือ (ปวช.) และระดับเทคนิค (ปวส.) พบว่า ผู้เรียนมีฐานะทางเศรษฐกิจยากจน
ผู้เรียนต้องเดินทางไกล เสี่ยงภัยในการเดินทาง เนื่องจากมีสถานศึกษาจ่านวนน้อยในพื้นที่ ส่วนมาก
กระจุกตัวอยู่ในอ่าเภอเมือง สถานประกอบการมีน้อย ทยอยปิดตัว ไม่สามารถจัดการเรียนการสอน
ร่วมกับสถานประกอบการได้ จัดหลักสูตรการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรไม่
สอดคล้องกับหลักศาสนา รูปแบบการพัฒนาการจัดอาชีวศึกษาในระดับนี้ ควรจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรม
วิชาชีพอ่าเภอที่ห่างไกลที่เปิดการเรียนการสอนในระดับ ปวช. และ ปวส. ควรสร้าง จัดหอพักให้
นักศึกษา ควรส่งเสริมการหารายได้ระหว่างเรียน ควรจัดสถานที่ปฏิบัติกิจศาสนาที่เหมาะสม และมี
วิทยากรศาสนาประจ่าสถานศึกษา ควรจัดกิจกรรมและหลักสูตรการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับ
หลักศาสนา ควรสนับสนุนทุนการศึกษาต่อสายอาชีพให้มากขึ้น ควรส่งเสริมทักษะภาษาต่างประเทศ
ควรสร้างเครือข่ายสนับสนุนการเรียนสายอาชีพ เช่น เครือข่ายสถานประกอบการฝึกงานต่างจังหวัด
ต่างภาค ต่างประเทศ สร้างเครือข่าย สร้างความเข้าใจในการเรียนสายอาชีพ เช่น เครือข่ายครู
แนะแนว เครือข่ายอาชีวศึกษาต่าบล อ่าเภอ และจังหวัด
abstract:
1
Abstract
Title Sustainable Management of Vocational Education
Development for Special Administrative Development
Zone in Southern Border Province
The subject Social - Psychology
Researcher Dr. Preecha Wetchasart, Ph.D Course NDC Class 60
The unrest situation in the southern border provinces has increased
steadily since 2004, affecting the economic, workplace and business were closed.
People could not live in normal condition. The unemployment rate were higher than
the national average. As a result, the proportion of poor people were higher than the
national average. And found that graduated from lower secondary school in the
special administrative development zone of the southern border provinces were
conduct to study in the ordinary religious affiliation state of study in vocational
education. This research was to study the management and development the model
of vocational education for special administrative development zone in southern
border province. Adding vocational learners and also provides opportunities for
populations, young people had access to the management of vocational education
in the public sector in their area context and propose to the relevant agencies.
The results of the study were as follows: 1) management of vocational
education; the target group in semi-skills (short-term vocational training) had far
travel, less school, don’t cover area, the budget was limited, discrete practice.
So follow by the development model should have professional training center for
distant district and training continuously. 2) The status of vocational education at
skills level and technical level showed that the students were poor, had far and risk
travel. Due to there were few schools in the area. Mostly concentrated in the town
and could not learn with the workplace because have less workplace and closure
Teaching course and extracurricular activities were not consistent with religious
principles. The model of vocational education development at this level should
provide professional training center for distant district, provide vocational and high
school level course, provide dormitory for students, promote special income. the
right place for religious practice and also religious teacher. Provide activities courses
that consistent with religious principles, support more vocational education, foreign
language skills, Vocational education network, such as job training in abroad and
different province network. To understand of vocational education study by
networking of vocational counselors, district and provincial networks.