Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการประชาสัมพันธ์ข่าวสารกองทัพบกทางสื่อสังคมออนไลน์

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก วัชระ นิตยสุทธิ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการประชาสมั พนัธ ์ ข่าวสารกองทพั บกทางสื่อสงัคมออนไลน ์ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย พล.ต.วัชระ นิตย์สุทธิ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่56 การวิจัยเรื่อง แนวทางการประชาสัมพันธ์ข่าวสารกองทัพบกทางสื่อสังคมออนไลน์มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการด าเนินการด้านการประชาสัมพันธ์ข่าวสารกองทัพบกในปัจจุบันและเพื่อ ศึกษาแนวทางการประชาสัมพันธ์ข่าวสารกองทัพบกทางสื่อสังคมออนไลน์มีผลการวิจยั ดงัน้ี1. การด าเนินการด้านการประชาสัมพันธ์ข่าวสารกองทัพบก ประกอบด้วยปัจจัยภายนอกกองทัพบก ได้แก่ ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ความยากจน ภัยพิบัติต่างๆ การป้ องกันประเทศ ความแตกแยกของ คนในสังคม ความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กระแสสื่อมวลชน และปัจจัยภายใน กองทัพบก ประกอบด้วย วิสัยทัศน์กองทัพบก เจตนารมณ์ของผู้บัญชาการทหารบก นโยบาย กองทัพบก การประชาสัมพันธ์ข่าวสารของกองทัพบก และระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการให้ ข่าวสารราชการ พ.ศ.2522 2. กระบวนการจัดท านโยบายการประชาสัมพันธ์ข่าวสารกองทัพบก ทางสื่อสังคมออนไลน์ ประกอบด้วย 5 ข้ันตอนดังน้ี ข้ันที่1 ข้นั ก่อตัวนโยบาย ประกอบด้วย แนวทางของปัญหา พบว่า ภายในกองทัพบกเห็นความส าคัญของการน าเทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช้ในการประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความนิยม ให้ประชาชนสนับสนุนการปฏิบัติงานของกองทัพบก สร้างความรักความผกู พนั ความศรัทธาและความเชื่อมนั่ ของประชาชนที่มีต่อกองทพั บก ข้นั ที่2 ข้นั วาระตระเตรียมขอ้ เสนอร่างนโยบาย พบว่า เป็ นภารกิจของกรมกิจการพลเรือนทหารบก ท า หน้าที่ในการด าเนินการต่างๆ เพื่อจัดท าร่างนโยบาย โดยมีส านักงานเลขานุการกองทัพบก ศูนย์ เทคโนโลยีทางทหารกองทัพบกและหน่วยที่เกี่ยวข้องเป็ นหน่วยงานสนับสนุนการด าเนินการ ข้นั ที่ 3 ข้นัก าหนดเป็ นนโยบาย พบว่า กรมกิจการพลเรื อนทหารบก เป็ นฝ่ ายอ านวยการหลักในการ ด าเนินการจัดท าร่างนโยบายการประชาสัมพันธ์กองทัพบก เพื่อน าเรียนผู้บัญชาการทหารบก อนุมัติ ข้นั ที่4 การน าแผนไปสู่การปฏิบัติพบว่า แผนงานด้านการประชาสัมพันธ์ของกองทัพบกในความ รับผิดชอบของส านักงานเลขานุการกองทัพบกแบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ แผนงานการ ประชาสัมพันธ์ตามวงรอบงานประจ าปี และแผนงานการประชาสัมพันธ์นอกเหนือการ ประชาสัมพันธ์ตามวงรอบ ข้นั ที่5 การประเมินผล พบว่า หน่วยในกองทัพบกเห็นความส าคัญของ การประเมินผล ท้งัการประเมินแผนงานและกิจกรรม เพื่อนา มาผลการประเมินมาปรับปรุงแผนงาน และกิจกรรมต่อไป

abstract:

Abstract Title : Directions for the Public Relations of the Royal Thai Army on Social Media Field : Social-psychology Name : Major General Watchara Nittayasut Course NDC Class 56 The purpose of this research, “Directions for the Public Relations of the Royal Thai Army on Social Media,” is to study in depth the current public relation efforts of the Royal Thai Army on social media platforms. The findings of this research are the following: 1. The public relations operation of the Royal Thai Army depends on several external institutional variables, such as non-conventional threats, poverty, natural disaster, national defense, social divisions, and unrest in the southernmost provinces. Many internal institutional variables, namely institutional visions, discretion of the Army Commander, policy of the Royal Thai Army, public relations of the Royal Thai Army, and the 1979 Regulation of the Royal Thai Army on official news publication, also have effect on the said operation. 2. The process for the formulation of the Royal Thai Army policy on the public relations via social media consists of 5 stages. First, while the policy initiative was being formulated, the Royal Thai Army saw the importance in utilising social as a publicity platform to invite cooperation from the public in supporting the operations and efforts of the Royal Thai Army and to promote trust and confidence of the public in army. Second, as the agenda was being prepared as a policy proposal, the public relations operation on social media is under the scope of responsibility of the Directorate of Civil Affairs, which was then tasked with drafting the proposal with the operational support of the the Office of Army Secretary, Military Technology Centre, and relevant agencies. Third, at policy stage, the Directorate of Civil Affairs is the administrator in drafting the policy for the Royal Thai Army's public relations campaign, which was to be sent for approval from the Army Commander. Fourth, once authorised, the policy was put into practice, and it is found that the work plan under the authority of the Office of Army Secretary is divided into two parts, annual public relations campaign and extraordinary-session public relations campaign that is outside the planned calendar. Fifth, at the evaluation stage, the research finds that agencies within the Royal Thai Army understand it is vital to evaluate the work plan and the activities that were implemented so that the result can be used for improvements in the future.