เรื่อง: การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวของบริษัทรับเหมาก่อสร้าง : ศึกษาเฉพาะบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ปฐมพล สาวทรัพย
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวของบริษัทรับเหมาก่อสร้างที่จดทะเบียนในตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย นายปฐมพล สาวทรัพย์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
งานวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวของบริษัทรับเหมาก่อสร้างที่จด
ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาแนวทางการ
บริหารจัดการแรงงานต่างด้าวที่มีประสิทธิภาพของบริษัทรับเหมาก่อสร้าง โดยศึกษาในประเด็น
ปัญหาและอุปสรรคการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว การวางแผนปริมาณแรงงานต่างด้าว การ
ก าหนดกระบวนการจัดหาและการก าหนดสัดส่วนแรงงาน และการพัฒนาทักษะและประสิทธิภาพใน
การท างานของแรงงานต่างด้าว เป็นการศึกษาโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative
Research) ในรูปแบบของ การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย
นี้คือ บริษัทรับเหมาก่อสร้างที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จ านวน ๙ บริษัท แบ่ง
ออกเป็น ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มบริษัทขนาดใหญ่ กลุ่มบริษัทขนาดกลาง และกลุ่มบริษัทขนาดเล็ก
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มบริษัทขนาดใหญ่ มีความพร้อมและมีการบริหารจัดการแรงงาน
ต่างด้าวที่ดีกว่ากลุ่มบริษัทขนาดกลาง และกลุ่มบริษัทขนาดเล็ก โดยแนวทางการบริหารจัดการ
แรงงานต่างด้าวที่มีประสิทธิภาพของบริษัทรับเหมาก่อสร้าง ผู้วิจัยได้ก าหนดแนวทางตามกลุ่มปัญหา
ออกเป็น ๕ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านกฎหมายและข้อบังคับ ๒) ด้านทักษะและฝีมือแรงงาน ๓) ด้านการ
สื่อสารและปฏิบัติงาน ๔) ด้านความปลอดภัยในการท างาน ๕) ด้านสังคมและสาธารณสุข โดย
ผู้รับเหมาก่อสร้างจะต้องมีการบริหารความสมดุลของปริมาณแรงงาน และคุณภาพของแรงงาน ต้องมี
กระบวนการจัดการแรงงานที่เป็นระบบ มีกระบวนการหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ด้าน
ประเภทของแรงงานต่างด้าว ผู้ประกอบการจะนิยมใช้แรงงานต่างด้าวประเภทน าเข้ามากที่สุด ด้าน
การจัดหาแรงงานต่างด้าวที่ด าเนินการผ่านการว่าจ้างบริษัทตัวกลาง ต้องคัดเลือกบริษัทที่มีใบอนุญาต
ถูกต้องตามกฎหมาย มีประสบการณ์ที่ยาวนาน มีความเชี่ยวชาญ โดยผู้วิจัยมีข้อเสนอส าหรับการ
วิจัยในอนาคตในประเด็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการแรงงานที่ดีมีผลต่อผลิตภาพแรงงาน
(Productivity) และความสามารถในการท าก าไร (Profitability) อย่างไร
abstract:
Abstract
Title: Migrant Workers Administration of Construction Companies Listed
on the Stock Exchange of Thailand
Subject: Strategy
Researcher: Mr. Pathompol Saosap Course NDC Class 60
The study on Migrant Workers Administration of Construction Companies
Listed on the Stock Exchange of Thailand aimed at exploring the efficient migrant
workers administration of construction companies. The studied issues included the
problems and hindrance of migrant workers administration, planning for the quantity
of migrant workers, determination of worker acquisition process and worker
proportion, and development of working skills and efficiency among migrant workers.
This study was the qualitative research conducted by means of in-depth interview.
The sample covered 9 construction companies listed on the Stock Exchange of
Thailand, which were categorized into 3 groups: large-sized company; medium-sized
company; and small-sized company.
The study indicated that Large corporations Better preparedness and
management of migrant workers than medium size companies. And small group
companies. The effective management of migrant workers in construction companies.
1) Law and regulation 2) Skill and skill 3) Communication and work 4) Safety 5) Social
and public health The contractor must manage the balance of labor. And quality of
labor There must be a systematic labor management process. Have a clear process
or procedure. Types of migrant workers Entrepreneurs will use the most imported
migrant workers. The supply of migrant workers through intermediaries. Select a
company with a legitimate license. Have a long experience Expertise The researcher
has proposed for future research on issues related to good labor management,
affecting labor productivity. Productivity and profitability.