Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การกำหนดนโยบายพลังงานตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดชฯ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการศึกษา/Education
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย บุญชัย เจียมจิตจรุง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการก าหนดนโยบายพลังงานทดแทนอย่างยั่งยืน ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย นายบุญชัย เจียมจิตจรุง หลักสูตรวปอ.รุ่นที่๖๐ ผลของเพิ่มขึ้นของประชากรโลกอย่างต่อเนื่อง จนในปัจจุบัน (ค.ศ.๒๐๑๘) มีจ านวน ประมาณ ๗,๘๐๐ ล้านคน ประกอบกับการพัฒนาทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยี ตลอดจนการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน ท าให้ความต้องการใช้ พลังงานของมนุษย์เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความต้องการพลังงานของประเทศ ก าลังพัฒนา รัฐบาลชุดปัจจุบัน มีนโยบายชัดเจนในการส่งเสริมกิจการพลังงาน ดังนั้น การวิจัยครั้ง นี้จึงได้ก าหนดวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการและแนวความคิดในการก าหนดนโยบายด้าน การพลังงาน เพื่อศึกษานโยบายและแนวทางของรัฐบาลในการด าเนินการส่งเสริมภาคเอกชนให้มี ส่วนร่วมในการพัฒนาพลังงานทดแทนเพื่อความมั่นคงทางด้านพลังงานของประเทศ และเพื่อ เสนอแนะนโยบายในการส่งเสริมภาคเอกชนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาพลังงานทดแทนใน ประเทศไทยโดยใช้วิธีการเชิงคุณภาพในการรวบรวมและสังเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า นโยบายรัฐบาลที่ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนด้วย ระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนร่วม เป็นส่วนหนึ่งที่กระตุ้นให้เกิดการลงทุนเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบผลิตพลังงาน การเพิ่มสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงพลังงานทดแทนเพื่อลดการใช้ เชื้อเพลิงฟอสซิล เป็นการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันให้กับอุตสาหกรรม ในการลดต้นทุนการผลิตโดย การน าของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ ลดภาระค่าใช้จ่ายจากเชื้อเพลิงฟอสซิล และสร้างสุขภาวะที่ดี ต่อชุมชนรอบโรงงานด้วย ทั้งนี้ นโยบายที่ส าคัญในการส่งเสริมภาคเอกชนให้มีส่วนร่วมในการ พัฒนาพลังงานทดแทนในประเทศไทย คือ นโยบายการสร้างความเข้มแข็งให้ภาคเอกชนในการ ผลิตพลังงานทดแทน ด้วยการสร้างบุคลากรในวงการ สนับสนุนด้านการเงินให้แก่ผู้ประกอบการ สร้างการมีส่วนร่วมในการก าหนดนโยบายด้านพลังงานทดแทนระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชา สังคม รวมทั้งการสนับสนุนด้านองค์ความรู้เกี่ยวกับพลังงานทดแทนให้แก่ภาคเอกชน และนโยบาย ต่อมา คือ นโยบายการปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง โดยการก าหนดให้องค์การที่เกี่ยวข้องท าการ พิจารณาปรับปรุง กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ระเบียบ ค าสั่ง ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมภาคเอกชนใน การพัฒนาพลังงานทดแทน และพิจารณาร่างกฎหมายเพื่อส่งเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทนของ ภาคเอกชน ส่วนนโยบายข้อสุดท้าย คือนโยบายการบูรณาการการบริหารกิจการพลังงานทดแทนใน องค์รวม โดยการวางแผนการส่งเสริมพลังงานทดแทนในลักษณะบูรณาการระหว่างส่วนราชการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพลังงานทดแทนโดยภาคเอกชน

abstract:

ข ABSTRACT Title Guidelines for Sustainable Renewable Energy Policy Field Science and Technology Name Mr. Boonchai Jeamjitjaroong Course NDC Class 60 The result of continuous increasing population until 2018 appeared approximately 7,800 million people including the development of science and technology and also the enlargement of various economy and industry from the past till present made the higher increasing demand of human using’s energy especially the demand of domestic energy in the developing country. Then, the policy of the present government has a clear guideline and the method to encourage the energy business. Therefore, this research has established the objectives to study the main principles and guideline in forming and establishing the energy policies and also to study the policies and the government guidelines in encouraging the private sectors to participate in the renewable energy’s development and for the country security in renewable energy’s development energy aspect. Lastly, the policy of private sectors’ encouragement to participate in the renewable energy’s development in Thailand through the quality research of data collecting and synthesis. The results found that the government policy of electricity production encouragement with the heat and electricity energy production . This was one of the part of the way to activate the efficiency investment of the energy production system. The increasing proportion of renewable energy consuming was done to decrease the fossil fuel consuming and to increase the potential of the industrial competition and in the decreasing the capital production investment by waste reuse method. This method was done to decrease the expenditure from the fossil fuel and create the good and pleasant community surrounding around the factories also. Moreover, the essential government policy were to strengthen and encourage to private sectors for participating in renewable energy production by the methods of giving knowledge , training personnel, financial support among entrepreneurs, creating participation in establishing and forming policies of renewable energy among public and private sectors and social communities including supporting and also giving the knowledge of renewable energy to private sectors . Then, later policy was the improvement policy of involving principles and forming the involving organization to consider and improve various regulations, principles and orders which considered as all obstacles towards the private sectors’ encouraging in renewable energy development among private sectors. Also, the law drawing of encouragement of renewable energy development have to be done. The final policy was the integration of the macro view of renewable energy’s management through forming the plan of renewable energy encouraging in the integration character among official and involving units with the renewable energy development of the private sectors as well.