เรื่อง: แนวทางการกำกับการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาบัณฑิตให้ได้มาตรฐานสากลและตอบสนองความต้องการของประเทศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว นุชนภา รื่นอบเชย
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการก ากับการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาบัณฑิตให้ได้ตาม
มาตรฐานสากลและตอบสนองความต้องการของประเทศ
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นางสาวนุชนภา รื่นอบเชย หลักสูตร การป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ ๖๐
การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพเป็นเรื่องเร่งด่วนส าหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เป็นเป้าหมายที่ส าคัญประการหนึ่งตามนโยบายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ ประเด็นดังกล่าวจึง
เป็นสิ่งท้าทายต่อหน่วยงานที่มีหน้าที่ก ากับดูแลการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและมีคุณภาพ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาส ารวจปัญหาในการจัดการศึกษาของไทยและแนวทางใน
การแก้ไขปัญหาโดยเฉพาะด้านคุณภาพบัณฑิต ๒) ศึกษาวิเคราะห์นโยบายของรัฐบาล เกณฑ์มาตรฐานต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับชาติและระดับสากล รวมถึงแนวโน้มของโลกในการจัดการศึกษาและทักษะของผู้เรียน
ในศตวรรษที่ ๒๑ และ ๓) จัดท าข้อเสนอแนวทางการก ากับการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาบัณฑิตให้ได้
มาตรฐาน สากล และตอบสนองความต้องการของประเทศ ส าหรับวิธีวิจัยได้ด าเนินการโดยศึกษาข้อมูล
จากเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ การออกแบบสอบถามเพื่อสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ
ด้านการอุดมศึกษา
ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า ๑)กรอบมาตรฐานการจัดการอุดมศึกษาและเกณฑ์มาตรฐานที่
เกี่ยวข้องยังมีความส าคัญที่สถาบันอุดมศึกษาจะใช้เป็นแหล่งอ้างอิงในการจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐานสากล
ทั้งนี้ สถาบันอุดมศึกษาต้องตระหนักถึงความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานต่างๆ
อย่างมีคุณภาพ ๒)สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ความส าคัญต่อการก าหนดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในระดับ
คุณวุฒิต่างๆ ที่เทียบได้กับสากล รวมทั้งความต้องการของรัฐบาลและผู้จ้างงานที่มีต่อคุณภาพบัณฑิต
๓) การสร้างความรู้ ความเข้าใจต่อคณาจารย์ถึงการเชื่อมโยงและถ่ายทอดผลการเรียนรู้ที่มุ่งหวัง ไปสู่
การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้สามารถจัดการเรียน
การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔)การส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือและการท างานร่วมกันระหว่าง
สถาบันอุดมศึกษา ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงผู้ทรงคุณวุฒิทั้งในและต่างประเทศจะช่วยท าให้เกิดแลกเปลี่ยน
เรียนรู้การเทียบเคียงคุณภาพ เกิดการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา รวมทั้งเข้าใจถึงแนวทางการจัด
การศึกษาให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และเกิดวัฒนธรรมคุณภาพในการด าเนินการของสถาบันอุดมศึกษา
abstract:
ABSTRACT
Title A guideline for overseeing educational management
for the development of quality of graduates up to international
standards and responding to the country’s needs
Field Social-Psychology
Name Miss Nutnapa Ruenobcheoy Course NDC Class 60
Quality education is an urgent issue for every country, in particular, it is aimed
as one of the United Nations sustainable development goals. This issue is challenging for
the agency responsible for overseeing educational management. The objectives of the
research are 1) to explore Thai education problems and their solutions particularly on
quality of graduates, 2) to analyze the policies of the government, standards criteria
both national and international level as well as the global trends and the 21st Century
Skills, 3) to develop the guideline for overseeing educational management for the
development of quality of graduates up to international standards and responding to
the country’s needs. The research methods consist of documentary research, and the
questionnaires as the tools for interviewing educational experts.
These are the results of the study. 1) Higher education standards framework and
related criteria are still crucial for higher education institutions to use as the reference
points in education management. 2) Higher education institutions must pay seriously
intention in determining learning outcomes and curriculum design. 3) The system of
assessment in aligning with learning outcomes, teaching and learning activities must be
clear and understood among teaching faculty. 4) Networking among higher education
institutions, stakeholders, and peers both national and international must be promoted in
order to share, to compare, and to raise the quality of education management in higher
education institutions regularly for the quality cultures.