Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาแนวทางการป้องกันการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังไร้ญาติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย นิมิต ทัพวนานต์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาแนวทางการป้องกันการกระท้าผิดซ้้าของผู้ต้องขังไร้ญาติ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย นายนิมิต ทัพวนานต์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้ต้องขัง ไร้ญาติและเพื่อก้าหนดนโยบายและพัฒนาแนวทางการปฏิบัติในการแก้ไขและพัฒนาผู้ต้องขังไร้ญาติ รวมทั้ง เพื่อเสนอแนวทางการป้องกันการกระท้าผิดซ้้าของผู้ต้องขังไร้ญาติ โดยเป็นวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)กลุ่มผู้ต้องขัง ไร้ญาติที่ถูกคุมขังอยู่ในเรือนจ้าพิเศษมีนบุรีและผู้บริหารเรือนจ้าพิเศษมีนบุรี จ้านวน 33 คน รวมทั้ง สนทนากลุ่ม (Focus Group Interview)ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน จ้านวน 10 คน ผลการศึกษา พบว่า การยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้ต้องขังไร้ญาติควรท้าการพัฒนาผู้ต้องขังไร้ญาติให้มีสุขภาวะที่สมบูรณ์ (ร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณ สังคม และการฝึกวิชาชีพ) ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาผู้ต้องขัง ไร้ญาติที่ส้าคัญคือการใช้รูปแบบ P M P(Policy, Management, & Partner Network) ส่วนแนวทาง การป้องกันการกระท้าผิดซ้้าของผู้ต้องขังไร้ญาติประกอบด้วย การพัฒนาสุขภาวะทางด้านจิตวิญาณที่ สูญเสียไปเพราะยาเสพติดและปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและการลดความเหลื่อมล้้าทางเศรษฐกิจของ ผู้ต้องขังไร้ญาติ โดยประชาสัมพันธ์ให้ผู้ต้องขังไร้ญาติมาใช้บริการที่ศูนย์ประสานงานและส่งเสริมการ มีงานท้าของเรือนจ้า เมื่อพ้นโทษกลับสู่สังคมและต้องการความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ รวมทั้งการลด มลทินทางสังคม (Social Stigma) โดยสร้างการยอมรับของสังคมต่อกลุ่มผู้พ้นโทษและกลุ่มผู้ต้องขัง ไร้ญาติ โดยการมีส่วนร่วมของสื่อมวลชนในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อให้สังคมให้โอกาสและให้ การยอมรับผู้พ้นโทษกลับสู่สังคมอย่างต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะ กรมราชทัณฑ์ควรมีมาตรการให้ทุก เรือนจ้าด้าเนินส้ารวจข้อมูลการกระท้าผิดซ้้าในกลุ่มผู้ต้องขัง ไร้ญาติในเรือนจ้าและจ้าแนกสภาพปัญหา เพื่อให้การพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังไร้ญาติได้อย่างเหมาะสมเป็นรายบุคคล รวมทั้งขยายผลการพัฒนา ผู้ต้องขังไร้ญาติในรูปแบบ P M P ไปยังเรือนจ้าอื่นๆ ทั่วประเทศ ตลอดจนการประสานความร่วมมือจาก หน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังและ ให้ความช่วยเหลือผู้พ้นโทษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผู้ต้องขังไร้ญาติที่ต้องการการยอมรับและให้ โอกาสกลับสู่สังคม เพื่อเป็นการป้องกันการกระท้าผิดซ้้าของกลุ่มผู้ต้องขังไร้ญาติภายหลังพ้นโทษที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างแท้จริง

abstract:

Abstract Title : The Development of Prevention Measure of Recidivism in Neglected offenders Field : Social Psychology Name : Mr. Nimit Drapwanarn Course NDC Class 60 The purpose of this study was to study approach to enhance the quality of life of neglected offenders and determine the policy and guidelines to rehabilitate the no-relative offenders. Additionally, the research proposed the recommendations on prevention measure of recidivism in neglected offenders. This research is a qualitative research utilizing in-depth interview method to collect data from 33 neglected offenders and the director in Minburi Remand Prison. The focus group interview in 10 employees from relevant organizations is also used. The research found that to improve quality of life of no-relative offenders, the rehabilitation in 4 significant domains (Physical, mental & spiritual, social and vocational training) is vital. The policy recommendation is to utilize P M P model (Policy, Management and Partner network). In addition, the recidivism prevention measure should focus on spiritual wellness promotion which is distorted from illicit drugs and economic problem, and on reduce the economic inequality among no-relative offenders by encourage them to acquire the services upon release at the Employment supporting service center in the prison. Furthermore, press should play an important role in promoting public relation campaign on societal acceptance towards offenders after release in order to reduce social stigma. The research proposed the Department of Correction to have measure to collect reoffending data among neglected offenders and to classify each offender to provide suitable and individualized rehabilitation program. Additionally, the expansion of P M P model should be expanded in prisons throughout the country and the collaboration among relevant organizations both government and private sector should be developed in order to assist and rehabilitate offenders and ex-offenders, especially in neglected offenders. The collaboration will be invaluable in recidivism prevention of neglected offender upon release.