เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบการตรวจสอบของกองทัพบก
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี วรวิทย์ วรรธนะศักดิ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง แนวทางการพัฒนาระบบการตรวจสอบของกองทัพบก
ลักษณะวิชา การทหาร .
ผ้วิจัย พล.ต. วรวิทย์ วรรธนะศักดิ( หลั ู กสูตร วปอ. ร่นที
๕๖ ุ
.
กองทัพบกเป็ นหน่วยงานทีได้รับการจัดสรรงบประมาณจากกระทรวงกลาโหม
สูงทีสุด คิดเป็ นร้อยละ ๔๙.๕๘ ของงบประมาณทั)งหมดของกระทรวงกลาโหม ด้วยเหตุนี)
กองทัพบกจึงจําเป็ นต้องมีระบบตรวจสอบทีมีศักยภาพในการกํากับและควบคุมการใช้จ่าย
งบประมาณดังกล่าวให้เป็ นไปอยางมีประสิทธิภาพและเก ่ ิดประโยชน์สูงสุด ทั)งนี) หน่วยงานซึงทํา
หน้าทีตรวจสอบและเกียวข้องกบการตรวจสอบของกองทัพบกในปัจจุบัน คือ กรมจเรทหารบก ั
สํานักงานตรวจสอบภายในทหารบก กองพัฒนาระบบราชการ สํานักงานปลัดบัญชีกองทัพบก
และศูนย์รับเรืองราวร้องทุกข์ในสํานักงานเลขานุการกองทัพบก แต่เนืองจากหน่วยงานดังกล่าว
ต่างปฏิบัติหน้าทีของตนอย่างเป็ นอิสระ จึงส่งผลให้เกิดปัญหาการปฏิบัติงานซํ)าซ้อน และมี
กระบวนการหรือขั)นตอนในการทํางานระหว่างหน่วยงานมาก ทําให้กองทัพบกต้องสูญเสียเงิน
งบประมาณ และระยะเวลาดําเนินการในเรืองต่างๆ เกินความจําเป็ น ดังนั)น จึงได้ทําการวิจัยเพือศึกษา
รวมทั)งวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร และหน่วยงานต่างๆ ควบคู่กบการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ และ ั
เจ้าหน้าทีซึ งมีประสบการณ์เกียวข้องกบการตรวจสอบในส ั ่วนราชการ เพือเสนอแนวทางในการ
พัฒนาระบบการตรวจสอบของกองทัพบก ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
พ.ศ. ๒๕๕๖ - พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึงได้ผลสรุปวา แนวทางทีมีความเหมาะสมมากทีสุด คือ จัดตั ่ )งกลุ่ม
งานกรมฝ่ ายตรวจสอบและประเมินผล โดยโอนย้ายกรมจเรทหารบก สํานักงานตรวจสอบภายใน
ทหารบก ศูนย์รับเรืองราวร้องทุกข์ และกองพัฒนาระบบราชการมาเป็ นหน่วยงานในกลุ่มงานใหม่
ดังกล่าว พร้อมทั)งจัดตั)งสํานักงานพัฒนาระบบราชการซึ งมีศูนย์รับเรื องราวร้องทุกข์และกอง
พัฒนาระบบราชการเป็ นหน่วยงานในสังกัด กับให้มีการเชือมโยงฐานข้อมูล บูรณาการการ
ปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงานทีเกียวข้อง และออกกฎหมายรองรับ ทั)งนี) มีข้อเสนอแนะว่า
กองทัพบกควรให้ความสําคัญกบการพัฒนาบุคลากร การคัดเลือกผู้ตรวจ ปรับปรุงวัฒนธรร ั ม
องค์การ และจัดอัตรากาลังของหน ํ ่วยงานตรวจสอบให้เหมาะสม รวมทั)งประชาสัมพันธ์เพือสร้าง
ความเข้าใจและยอมรับในการตรวจสอบ
abstract:
ABSTRACT
Title A Method to Develop Army Inspection and Audit System
Field Military
Name Major General Worawit Wattanasak Course : NDC Class : 56
About 49.59 percent of The Ministry of Defence’s budget was allocated to
the Royal Thai Army, a potential system of inspection and audit was a requirement for the Army
to ensure the efficiency and effectiveness of the budget spending. Army units which performed
inspection and audit tasks were The Army Inspector General Department, The Army Internal
Audit Office, public sector development division, Office of the Army Comptroller and also
petition center, Office of Army Secretary. But each of these units performed his tasks
independently, resulting in working overlapped. Besides, complex procedures in work
performances had caused the Army a waste of too much time and fund. This research was
conducted to propose the method of developing the Army inspection and audit system under
the Thai Public Sector Development Strategic Plan (B.E. 2556-2561). By studying and
analyzing data collected from various sources, such as documents from related units, along with
the interviews with specialists and those personnel having experiences in both inspection and
audit works, it came to conclude that the most appropriate way to develop the Army inspection
and audit system was to restructure Army inspection and audit units by establishing a task group
of inspection and evaluation, comprising The Inspector General Department and The Army
Internal Audit Office as subunits. Also, the Office of Public Sector Development was to be
established as another subunits which composed of the Public Sector Division and Petition
Center. The next step was to integrate tasks performances among related units with all database
linked together. It was recommended that the Army should focus on human resources
development, inspectors and auditors recruitment, the proper amount of manpower and also
organization cultures. In addition, public relations should be made in order to build
the understanding and acceptance of being inspected or audited.