เรื่อง: องค์ประกอบความสำเร็จการทำเกษตรผสมผสานอย่างยั่งยืน ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี นำพล คงพันธ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง องค์ประกอบความส าเร็จการท าเกษตรแบบผสมผสานอย่างยั่งยืน ในพื้นที่ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือตอนบน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย พลตรี น าพล คงพันธ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการและองค์ประกอบที่ท าให้การท า
เกษตรผสมผสานประสบความส าเร็จ และน าเสนอแนวทางในปรับปรุงรูปแบบการสนับสนุนการท าเกษตร
ผสมผสานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้วิจัยเลือกกรณีศึกษาในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน ท าการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากแนวคิด ทฤษฏี และเก็บข้อมูลปฐมภูมิโดยการสัมภาษณ์แบบเชิง
ลึกกับเกษตรกรต้นแบบที่ได้รับการสนับสนุนจากโครงการเกษตรผสมผสานของหน่วยบัญชาการทหาร
พัฒนา จ านวน ๖ คน และผู้บังคับบัญชาของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนาที่มีประสบการณ์ในการส่งเสริม
โครงการเกษตรผสมผสาน จ านวน ๓ คน
ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบความส าเร็จในการท าเกษตรผสมผสานประกอบไปด้วย
1)องค์ประกอบทางเศรษฐกิจ แรงจูงใจในการท าเกษตรผสมผสานเพื่อแก้ไขปัญหารายได้ที่ไม่มั่นคง
2)องค์ประกอบทางลักษณะจิตใจและพฤติกรรมของเกษตรกร มีการมุ่งอนาคตใฝ่หาความรู้และ
ควบคุมตนเองในสังคมทุนนิยม ท าให้ไม่มีความคิดที่จะละทิ้งอาชีพเกษตรกร รวมถึงมีความมุ่งมั่นใน
การบรรลุเป้าหมายความส าเร็จในการท าเกษตรผสมผสาน 3) การสนับสนุนจากภาครัฐ เช่น การมี
เจ้าหน้าที่พัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีความรู้ให้ค าแนะน า หน่วยงานราชการต่างๆสามารถวิเคราะห์พื้นที่
เพื่อจัดกิจกรรมที่เหมาะสม การคัดเลือกเกษตรกรที่มีความตั้งใจโดยผ่านกระบวนการที่เหมาะสม
สามารถเป็นต้นแบบความส าเร็จและถ่ายทอดแรงจูงใจให้กับบุคคลอื่นในชุมชนเกิดความอยากท า
การเกษตรแบบยั่งยืน
เนื่องจากอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพเก่าแก่ที่เสริมสร้างสังคมไทยให้มั่นคงและยั่งยืนถึงปัจจุบัน
ภาครัฐควรด าเนินการท าให้อาชีพเกษตรกรรมไม่สูญหายไปจากสังคมไทย โดยมีมาตรการในการจูงใจ
เกษตรกรให้หันมาท าการเกษตรแบบผสมผสาน ในส่วนของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนานั้น ต้องมีการ
ก าหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ให้ชัดเจน โดยจัดท าแผนและโครงการย่อยของตนเอง
จัดท าระบบติดตามประเมินผล และสร้างตัวชี้วัดการปฏิบัติงาน และถ่ายทอดเป้าหมายการพัฒนาให้กับผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องทราบในแนวทางเดียวกัน เพื่อการบูรณาการและประสานประโยชน์ทุกภาคส่วน รวมถึงควร
เพิ่มเติมกระบวนการศึกษาร่วมกับหน่วยงานรัฐ เอกชน และเกษตรกรต้นแบบผู้ประสบความส าเร็จในการ
ท าเกษตรผสมผสาน เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้แก่เกษตรกรในขั้นตอนก่อนรับมอบโครงการเกษตร
ผสมผสานต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title Successful Elements in Sustainable Integrated Agricultural Farming in upper
Northeastern region of Thailand
Field Economics
Name Director of Military Development Office Course ND Class 60
This qualitative research aimed to study a process of knowledge, pattern, and
methods of successful application in integrated farming practice with presenting guidelines
to improve efficacy of supporting integrated farming program. Provinces of upper
northeastern Thailand were selected. Primary and secondary data were collected and
studied by interview and discussion from 6 model farmers selected to receive support of
integrated agricultural farming program by The Armed Forces Development Command and 3
of the superior commander with experienced in supporting the program.
The results showed that the process of knowledge and methods of a successful
application in integrated farming practices consisted of three essential composition 1)
Economic motivation, to use integrated farming to solve an inconstant financial income. 2)
Thought and behavior, farmers with achievement motivation seek knowledge to improve
themselves and have self-control from capitalism. 3) Support from government, associate
agency to analyze area and proper land usage.Mobile Development Unit’s officer. given
knowledge and continuous advice together with properly selecting model farmers that
could give good motivation for others.
Agricultural farming is an important and sustainable occupation form past to present
that government sector should act to preserve, setting measures to motivate more farmers
to do integrated farming. As for The Armed Forces Development Command, the Mobile
Development Unit, to set their plans and projects a tracking system and indicators that can
assess the development. With passing on the development objective to the relevant to
have the same approach, integrate and bring joint benefits. In addition to further studying
with government and private sector together with model of successful farmers conduct
integrated farming, can exchange knowledge to farmers before receiving the supported
integrated farming program.