เรื่อง: แนวทางการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs) ภาคค้าปลีก กรณีศึกษา เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด(มหาชน)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง นาถยา จิราธิวัฒน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพฒั นาศักยภาพการแข่งขนั ของธุรกจิขนาดกลางขนาดย่อม
(SME) ภาคค้าปลีก กรณีศึกษา บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ ากัด (มหาชน)
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วจิัย นางนาถยา จิราธิวัฒน์ หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่ 60
จากวิกฤตเศรษฐกิจอยา่ งหนักในช่วงปีพ.ศ. 2540 เศรษฐกิจประเทศไทยไดข้ยายตวัใน
ระดบั สูงมาอยา่ งต่อเนื่อง ท้งัน้ีจากโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศไทยไดม้ีการเปลี่ยนแปลงไปอยา่ ง
มากจากสาขาการเกษตรไปสาขาอุตสาหกรรมและในทศวรรษน้ี(2560) ก็จะมุ่งสู่การคา้และภาค
บริการมากข้ึน มีธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SME) เกิดข้ึนมากมายกลายเป็นพ้ืนฐานที่สา คัญของ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยอยา่ งไรก็ดีSME ส่วนใหญ่ยงัคงเป็นบริษทัขนาดเล็กยงัไม่เติบโตไป
เป็นบริษทั /วิสาหกิจขนาดกลาง และส่วนใหญ่จะอยใู่นภาคบริการธุรกิจเนน้ การจา หน่ายสินค้าที่มีทุน
ถูกและใช้ราคาเป็นกลยุทธ์ในการแข่งขนั มากกว่าที่จะใช้กลยุทธ์ด้านนวตักรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าของ
สินคา้วตัถุประสงคก์ ารวิจยัน้ีเพื่อศึกษาแนวทางการพฒั นายกระดบัจากผปู้ระกอบการขนาดยอ่ ม (S) สู่
ผู้ประกอบการขนาดกลาง(M) โดย 1. ศึกษาทฤษฏี ยุทธศาสตร์ และนโยบายภาครัฐเพื่อพัฒนาศักยภาพ
ทางการแข่งขนั SME 2.วิเคราะห์ปัจจยัและเปรียบเทียบผลการพฒั นาศกัยภาพทางการแข่งขนัและ3.
เสนอแนะแนวทางการพัฒนายกระดับจากSเป็ น M โดยเป็ นการวิจัยเชิงปริมาณและใช้แบบสอบถาม
เป็ นเครื่องมือในการวิจัย โดยสัมภาษณ์ SME ที่มีธุรกรรมการซ้ือขายกบั บริษทั เซ็นทรัลพฒั นา จา กดั
(มหาชน) จ านวน 172 ราย ผลการวิจยัพบว่าคุณลกัษณะเด่นทางประชากรศาสตร์ของ SME ที่ประสบ
ความส าเร็จคือ1. มีความเป็นผูป้ ระกอบการสูง มีความมุ่งมนั่ ต้งัใจ 2. มีการศึกษาระดบั สูง 3. มีวุฒิ
ภาวะ ความรับผิดชอบสูง 4.ไม่จา เป็นตอ้งมีเงินทุนสูงโดยปัจจยัที่มีผลต่อการดา เนินการของธุรกิจของ
วิสาหกิจขนาดยอ่ ม (S) มากที่สุดคือ ดา้นการจดัการและนอ้ยที่สุดคือดา้นการเงิน และปัจจยัที่มีผลต่อ
การเจริญเติบโตจาก S ไป M มากที่สุดคือ ด้านด าเนินการและเทคโนโลยี และด้านการเงิน ขณะที่ด้าน
การตลาดมีผลน้อยที่สุด ผู้วิจัยขอเสนอะแนะน าการพัฒนา SME จาก S เป็ น M ดังน้ีรัฐบาลควรให้การ
สนับสนุนในเรื่อง 1.การน าเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่าสินคา้ 2.ให้ความรู้ในการจัดท า
เว็บไซต์ E-COMMERCE 3.จัดท าโครงการฐานข้อมูลจาก BIG DATA เพื่อให้ผู้ประกอบการเข้าถึงองค์
ความรู้ และในด้านการเงินควรสนับสนุนให้ความรู้และค าแนะน าการบริหารจัดการด้านการเงินที่มี
ประสิทธิภาพ สนับสนุนแรงจูงใจทางภาษีในการซ้ือเครื่องจกัรที่มีเทคโนโลยีสนับสนุนการเขา้ถึง
แหล่งเงินทุนของสถาบนัการเงินต่างๆ และจดัหาเงินกอู้ ตัราดอกเบ้ียต่า ส าหรับการขยายการลงทุน
abstract:
ABSTRACT
Title Approach of Small and Medium Retail Entrepreneur’s Potential
Development on Competitiveness; A Case Study of Central Pattana
Company Limited
Field Economics
Name Mrs. Narttaya Chirathivat Course NDC Class 60
Due to the severe economic crisis in 1997, Thai economy continued to grow at a high
rate. The structure of Thailand's economy has changed dramatically from agriculture to industry,
and in this decade (2017), it has become increasingly trade and services. Many small and medium
sized businesses (SME) have become the cornerstone of the Thai economy. However, most SMEs
are still small, can’t grow into a medium-sized enterprise, and most of them are in the services
sector, focusing on selling cheap products and using prices as a competitive advantage rather than
innovative strategies to increase the value of products. The purpose of this research is to find
strategies to develop small-sized (S) to medium-sized enterprises (M): by 1. study theories,
strategies and government policies to develop SME competitiveness, 2. analyze the factors and
compare the results of competency developments, and 3. propose strategies to upgrade from S to
M. This research was conducted using quantitative methodology by interviewing 172 SMEs who
partnered with Central Pattana Plc. The results are: the demographic characters of successful
SMEs are: highly entrepreneurial, self-motivated, high educated, matured, and low capital
investment required. The factors that affect the operation of small business the most is
Management whilst the least is Financing. The factors that affect growth from S to M the most
are Operations&Technology, and Financing, while Marketing has a minimal effect. The study
recommends the development of SME from S to M as following: Government should support: 1.
the technology/innovation to increase the value of goods, 2. provide knowledge to set up ECOMMERCE, 3. develop database system for the relevant knowledge/info. pool. In financing: 1.
it should advice on effective financial management, 2. encourage tax incentives to buy new
technology, 3. support access to financial resources and 4. provide low interest-rate loans.