Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การกำหนดยุทธศาสตร์ทะเลเพื่อพัฒนาระบบเศรษฐกิจทางทะเลของไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี วรรณพล กล่อมแก้ว
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ การศึกษาวิจยัเรÉือง “การกาํหนดยุทธศาสตร์ทะเลเพÉือพฒั นาระบบเศรษฐกิจทางทะเล ของไทย” มีวตัถุประสงค์เพÉือศึกษาการกาํ หนดยุทธศาสตร์ทะเลและความสําคญั ของทะเลและหา แนวทางกาํ หนดยุทธศาสตร์ทะเลของไทยทีÉเหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมทางทะเลในภูมิภาค สําหรับใช้เป็นกรอบในการกาํ หนดทิศทางการพฒั นาระบบเศรษฐกิจทางทะเลของไทย โดยการ ศึกษาวิจยัครÊังนีÊกาํ หนดขอบเขตการวิจยัเฉพาะด้านเศรษฐกิจทางทะเลเท่านÊนั โดยใช้ระเบียบวิธี วจิยัเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)ดาํ เนินการวเิคราะห์เชิ.พรรณนา (Descriptive research) ผลการศึกษาวิจยัพบว่าการทีÉประเทศไทยไม่สามารถสร้างความมงคั ัÉ งÉ จากทะเลได้ เกิดจากรัฐบาลขาดวิสัยทัศน์ทางทะเล ไม่สร้างค่านิยมร่วมทีÉจะก้าวไปสู่การเป็นชาติทะเล ให้ความสําคญั กบัระบบธุรกิจบนบกมากกวา่ ทางทะเล ไม่มียุทธศาสตร์ทะเลทีÉจะกาํหนดทิศทางใน การใช้และแสวงประโยชน์จากทะเลเพืÉอให้บรรลุวตัถุประสงคข์องชาติทางทะเล ซึÉงการทีÉจะสร้าง ความมังคั É งÉ ให้กบั ประเทศ และพฒั นาระบบเศรษฐกิจทางทะเลให้ทดัเทียมกบั ประเทศเพÉือนบา้นได้ นัÊน รัฐบาลจะตอ้งให้ความสําคญั กบัการเสริมสร้างสมุททานุภาพทีÉประกอบด้วยกองเรือพาณิชย์ กองทพั เรือ ท่าเรือสินค้าขนาดใหญ่และอู่เรือเพÉือใช้เป็ นเครืÉองมือแสวงประโยชน์จากทะเล ตาม ยุทธศาสตร์ทะเลทีÉวางไว้อย่างต่อเนืÉอง และดําเนินการตามมาตรการเฉพาะทีÉรองรับประเด็น ยุทธศาสตร์ทะเลทีÉได้จากการวิเคราะห์ปัจจยัเขม้แข็ง ปัจจยัอ่อนแอโอกาส และสÉิงทา้ทายและการ ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมทางทะเลทัÊงของโลก ภูมิภาค และประเทศรอบบ้าน แล้วกลัÉนกรอง ออกมาเป็นประเด็นยุทธศาสตร์จาํ นวน ๑๒ ประเด็น พร้อมด้วยมาตรการเฉพาะและแผนงาน โครงการด้านต่างๆ ทีÉแบ่งการดําเนินการออกเป็น ๓ ระยะ คือ ระยะต้น (๑ – ๓ ปี ) ระยะกลาง (๓ – ๕ ปี ) และ ระยะยาว (๕ – ๑๐ ปี ขึÊนไป) เพืÉอเป็ นจุดเริÉมต้นของการเสริมสร้างสมุททานุภาพ ในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจทางทะเลให้สามารถสร้างความมงคั Éั งÉ ให้กับประเทศได้อย่างยงยืน ัÉ ตลอดไป.

abstract:

Abstract Title Maritime Strategy for developing of maritime economy of Thailand Field Strategy Name Rear Admiral Wannapol Glormgeao R.T.N. Course NDC Class 56 Thailand is located in the vicinity suitable for being the center of communication of ASEAN, and is between Pacific Ocean and Indian Ocean, which is the pathway for transporting petroleum from the Middle East to other regions around the world. Thailand also has numerous marine resources, including fishery, energy, tourism, maritime transportation routes, and conducting activities, in which can be said that Thailand has the upper hand than other countries within the same region. However, it could not bring prosperity to the country’s economy even though it has factors that support the development of Sea Power as a tool and the exploitation of the sea. The objective of research is to study the maritime strategy formulation as well as importance of maritime strategy and to find the appropriate maritime strategy for developing of maritime economy of Thailand. This research is within the maritime economic arena only and by means of qualitative research methodology. The government of litter state which has the maritime vision will enhance the Sea Power consisting of merchant fleets, naval forces, harbors, and shipyard, to operate as a tool for exploitation of the sea accordingly to the maritime strategy. It can be concluded that whichever maritime nation has government with maritime vision and paying attention to the maritime strategy will bring about prosperity from the maritime economy to one’s own country continuously. The study found that the reasons why Thailand could not successfully build up wealth from the sea are because firstly, lack of maritime visions of the government, not creating values towards becoming a maritime nation but rather pay more attention to the onshore business system, and lastly, not having maritime strategy to indicate the direction to utilize and exploit from the sea to meet the objectives of maritime nation. In order to build wealth for the country and advance maritime economic system, the government must enhance the Sea Power potentiality, and only operates accordingly to the measures that assist the maritime strategy acquired from analyzing the world’s, regions’, and neighboring’ maritime environment which consist of 12 maritime strategic issues as well as the establishment of maritime affairs institute under command of the government directly.