เรื่อง: แนวทางการแก้ไขปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภค ยุคไทยแลนด์ 4.0
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ธสรณ์อัฑฒ์ ธนิทธิพันธ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการแก้ไขปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภค ยุคไทยแลนด์ ๔.๐
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นายธสรณ์อัฑฒ์ ธนิทธิพันธ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
งานวิจัยมีลักษณะเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีคิดการพัฒนาการด าเนินงานด้านการ
คุ้มครองผู้บริโภคเพื่อให้เกิดแนวทางการคุ้มครองผู้บริโภค และแก้ไขปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภค
ยุคไทยแลนด์ ๔.๐ ในการด าเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกับเครือข่ายด้านการคุ้มครอง
ผู้บริโภคและหน่วยงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการคุ้มครองผู้บริโภค
สูงสุด โดยมีวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการด าเนินงานด้านการ
คุ้มครองผู้บริโภคการเผยแพร่ข้อมูลและการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลในการคุ้มครองผู้บริโภค
ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการด าเนินการเยียวยาและการระงับข้อพิพาทให้แก่ผู้บริโภค และเพื่อ
เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภค ยุคไทยแลนด์ ๔.๐ เมื่อได้ศึกษาเปรียบเทียบ
ข้อมูลทั้งหมดในลักษณะบูรณาการแล้ว จึงวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมด โดยผลการวิจัยพบว่าการคุ้มครอง
ผู้บริโภคของไทยควรมีลักษณะภารกิจด้านการคุ้มครองผู้บริโภคไว้ในหน่วยงานเดียวกัน เพื่ออ านวย
ความสะดวกให้แก่ประชาชนจะเป็นผู้ก าหนดนโยบายคุ้มครองผู้บริโภคและมาตรการคุ้มครอง
ผู้บริโภคด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ด าเนินการคุ้มครองผู้บริโภคในเชิงป้องกันมิให้ปัญหาต่าง ๆ เกิดขึ้น
ซ้ าอีกหรือลดลงการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารมีการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลในการคุ้มครองผู้บริโภค
กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการคุ้มครองผู้บริโภค จัดท าระบบศูนย์กลางการบริการด้านคุ้มครอง
ผู้บริโภคทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคผู้บริโภครับข้อมูลข่าวสารผ่านแอพพลิเคชั่น และสื่อโซเชียล
มีเดียสมัยใหม่ การด าเนินการเยียวยาและการระงับข้อพิพาทให้แก่ผู้บริโภค ควรจะมีการออก
นโยบายเพื่อลดขั้นตอนในการด าเนินการช่วยเหลือผู้บริโภคที่ยุ่งยากและซับซ้อนให้ง่ายขึ้น เพื่อให้
การช่วยเหลือท าได้รวดเร็วขึ้น โดยมีการจัดท าระบบการระงับข้อพิพาทออนไลน์ (Online Dispute
Resolution: ODR) เป็นการระงับข้อพิพาทที่เกิดขึ้นจากการซื้อขายออนไลน์หรือการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)การเยียวยาให้กับผู้บริโภคข้ามแดน มีการเยียวยาให้กับผู้บริโภค
ข้ามแดนหรือผู้บริโภคชาวต่างชาติสามารถติดต่อแจ้งเรื่องร้องเรียนมายังศูนย์ปฏิบัติการเยียวยา
ผู้บริโภคข้ามแดนได้โดยตรง และสร้างแนวทางการด าเนินการคุ้มครองผู้บริโภคแก้ไขปัญหา
การคุ้มครองผู้บริโภค ยุคไทยแลนด์ ๔.๐ เพิ่มประสิทธิภาพและสร้างนวัตกรรมการบริการ ข
แบบบูรณาการทุกภาคส่วน จัดท าระบบศูนย์กลางการบริการด้านคุ้มครองผู้บริโภคทั้งส่วนกลางและ
ส่วนภูมิภาคเชื่อมโยงระบบรับเรื่องราวร้องทุกข์เข้าด้วยกันทุกหน่วยงาน ใช้เทคนิคสมัยใหม่ เช่น
Big Data เผยแพร่ข้อมูลด้านการคุ้มครองผู้บริโภคสู่ประชาชน ในช่องทางต่าง ๆ (Website,
Application ,Line) ส่งเสริมบูรณาการการใช้บริการเครือข่ายภาครัฐ เพื่อบริหารจัดการและยกระดับ
โครงสร้างพื้นฐาน มีการบูรณาการและเพิ่มประสิทธิภาพระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุน
การด าเนินงานภายในส านักงาน BackOffice ที่มีอยู่ทั้งส่วนส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค
abstract:
ABSTRACT
Title Guideline on consumer protection issue solution in Thailand 4.0 era
Field Social –Psychology
Name Mr.Thasornatt Thanittipun Course NDC Class 60
Position Deputy Secretary General of the Consumer Protection Board
Office of the Consumer Protection Board provides service ranging from receiving
consumer complaint inside or outside of Thailand to litigation for the benefit of consumer. Still, the
consumer dispute resolution could not reach its efficiency for lack of tools and technology mechanism
allowing access to justice and for lack of data networking from concerning agencies. It is therefore
necessary to revise and study guideline on consumer protection issue solution in Thailand 4.0 era with
regard to consumer protection, dissemination and networking of consumer protection database,
consumer redress and dispute resolution in order to propose guideline on consumer protection issue
solution in Thailand 4.0 era. The study shows lack of efficiency in consumer protection management
and also in database networking system and dissemination. It also remarks lack of access to consumer
information, inefficient consumer redress and dispute resolution and limited aid and redress for crossborder consumer issues. In consequence, diverse consumer protection missions in Thailand should be
restructured into a unique agency facilitating an integration of information and a dissemination and
networking of consumer data from various agencies. Consumer protection central system and online
dispute resolution system must be created. Last but not least, various platforms (Website, Application,
Line etc) should be developed in order to encourage consumer protection information and discussion
to the public.