เรื่อง: แนวทางการใช้งบประมาณให้คุ้มค่าสำหรับการฝึกอบรมประชาชนเพื่อสนับสนุนงานของหน่วยงานภาครัฐ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ธรรมศักดิ์ รัตนธัญญา
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการใช้งบประมาณให้คุ้มค่าส าหรับการฝึกอบรมประชาชนเพื่อสนับสนุน
งานของหน่วยงานภาครัฐ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายธรรมศักดิ์ รัตนธัญญา หลักสูตร วปอ. รุ่นที่60
การวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่องแนวทางการใช้งบประมาณให้คุ้มค่าส าหรับการฝึกอบรม
ประชาชนเพื่อสนับสนุนงานของหน่วยงานภาครัฐมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้งบประมาณในการ
ฝึกอบรมประชาชนในชุมชน การประเมินความคุ้มค่า และปัญหา อุปสรรคในการประเมินความคุ้มค่า
ของโครงการ และเพื่อเสนอแนวทางการใช้งบประมาณให้คุ้มค่าในการฝึกอบรมประชาชนในชุมชน
ของหน่วยงานราชการระดับอ าเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างเป็นโครงการ
ฝึกอบรมประชาชน ที่ด าเนินการโดยหน่วยงานระดับอ าเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใน
ปีงบประมาณ 2560 ในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ โดยสุ่มเลือก 3 อ าเภอ และ 9 องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น เก็บข้อมูลปฐมภูมิจากเอกสารโครงการฝึกอบรมประชาชน สัมภาษณ์ผู้บริหารโครงการ
ฝึกอบรม สนทนากลุ่มกับประชาชนผู้เข้ารับการฝึกอบรม และสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัย
พบว่า การใช้งบประมาณในการฝึกอบรมประชาชนของหน่วยราชการระดับอ าเภอมีสัดส่วนการใช้
งบประมาณใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ 5 – 6.7 ของงบประมาณทั้งหมด แต่ในระดับองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นอยู่ระหว่างร้อยละ 1.04 – 9.13 ปัญหาและอุปสรรคของการประเมินความคุ้มค่าโครงการ
ฝึกอบรมประชาชนคือ ความซ้ าซ้อนของโครงการ ขาดการบูรณาการร่วมกันในขั้นตอนการวางแผน
โครงการอบรม ไม่มีการจัดประเมินความต้องการการฝึกอบรม(training need) การก าหนดตัวชี้วัดไม่
วัดผลสัมฤทธิ์ของการฝึกอบรม ไม่มีการติดตามผลและการประเมินความคุ้มค่าของโครงการ
ผลการวิจัยได้แนวทางการใช้งบประมาณให้คุ้มค่าในการฝึกอบรมประชาชนในชุมชน
ดังนี้ ผู้บริหารต้องให้ความส าคัญกับการติดตามประเมินผลและประเมินความคุ้มค่าโครงการทุก
โครงการ ในขั้นตอนการวางแผนต้องมีการประเมินความต้องการการฝึกอบรม และมีการบูรณาการ
แผนงานโครงการเพื่อป้องกันความซ้ าซ้อน ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในขั้นตอนการประเมินผลทั้ง
ขณะการฝึกอบรมและภายหลังการฝึกอบรม การประเมินความคุ้มค่าควรเป็นไปตามหลักวิชาการเช่น
การประเมินผลของเคิร์กแพททริค และได้มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เชิงปฏิบัติการและเชิงวิชาการ
เพื่อประโยชน์ต่อการใช้งบประมาณให้คุ้มค่าในการฝึกอบรมประชาชนเพื่อสนับสนุนหน่วยงานภาครัฐ
abstract:
ABSTRACT
Title Practical worth management of the budget for training people to
support government sectors
Field Economics
Name Mr. Thamasak Rattanatanya Course NDC Class 60
The purposes of this qualitative research are studying financial
management for people training projects, value evaluation and difficulties of any
projects, and creating the guidance about how to worthly manage the budget for
people training projects in district office and local administration. The sample are
training projects in district office and local administration of Surin province in fiscal
year 2017. Three districts offices and 9 local administrations were randomly selected
from all of them. The primary data were collected from people training project
documents, the project managers and other related experts were interviewed, and the
training participants were discuss in focus groups. The results found that all 3 district
offices had budget for people training projects were in similar rates as 5 - 6.7 percent
of total budgets. But the rates of local administrations were 1.04 -9.13 percent.
Difficulties and problems of value evaluation of these projects were the overlapping
of projects, lack of coordination in project planning, had not the training needs
assessment, the project indicators couldn’t evaluate the true results and lack of
following process and assessing the value of projects.
The research results are implying that the administrators have to significant
aware of the following process and the value evaluation of all projects. The training
needs assessment are needed in planning steps and more integrated for preventing
duplication. People should be participated in both formative and summative project
evaluation. The value evaluation should compliance with academic principles such as
Kirkpattrict’s Model. The recommendations for policy, practicing and academic are
provided for the benefit of budget management in people training program.