เรื่อง: แนวทางการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เพื่อยกระดับคุณภาพแรงงานไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ณัทภพ แก้วสัมฤทธิ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเพื่อยกระดับ
คุณภาพแรงงานไทย
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นายณัทภพ แก้วสัมฤทธิ์ หลักสูตรวปอ. รุ่นที่ ๖๐
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน สภาพ
ปัญหาปัจจัยความส าเร็จและความล้มเหลวของการเรียนการสอนระบบทวิภาคีของสถานศึกษา
อาชีวศึกษาของประเทศไทย และเพื่อเสนอแนวทางและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการจัดการศึกษา
ระบบทวิภาคีของสถานศึกษาอาชีวศึกษา รวมทั้งการด าเนินการขับเคลื่อนปฏิรูประบบการ
อาชีวศึกษาสู่อาชีวศึกษาทวิภาคีของประเทศไทย ขอบเขตของการวิจัยการวิจัยครั้งนี้จะครอบคลุม
สถานอาชีวศึกษาทั้งรัฐบาลและเอกชนในประเด็นของการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เพื่อให้ได้
ทิศทางและมาตรการในการส่งผลการเรียนการสอนในระบบทวิภาคีประสบความส าเร็จ เพื่อการ
น าไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม วิธีด าเนินการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative
research) ใช้วิธีการวิเคราะห์เอกสาร (Documentary analysis) ซึ่งผลการวิจัย พบว่า ๑) การ
จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีกับสถานประกอบการภายในประเทศ แบ่งเป็น ๔ Model คือ
Model A การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเต็มรูปแบบ (ร้อยเปอร์เซ็นต์) ในพื้นที่ คือมีสถาน
ประกอบการ ในพื้นที่ตั้งสถานศึกษาผู้เรียนทุกคนทุกสาขาวิชา ได้เข้าฝึกอาชีพใน สถานประกอบการ
Model B การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเต็มรูปแบบ (ร้อยเปอร์เซ็นต์) นอกพื้นที่ คือ ไม่มีสถาน
ประกอบการในพื้นที่ตั้งสถานศึกษา ผู้เรียนทุกคนทุกสาขาวิชาได้เข้าฝึกอาชีพในสถานประกอบการ
โดยจะต้องมีการจัดที่พักใกล้กับสถานประกอบการที่ไปฝึกอาชีพให้แก่ผู้เรียนและมีครูควบคุมดูแล
Model C การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีบางสาขาวิชา และ Model D การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิ
ภาคีให้แก่พนักงานของสถานประกอบการ ๒) การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีต่างประเทศ แบ่งได้
๑ Model คือ Model E การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีกับสถานประกอบการต่างประเทศ และใน
ภาพรวมของข้อเสนอแนะ กระทรวงศึกษาธิการควรส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยง รวมทั้งการจัดการศึกษา
ระดับอุดมศึกษา สายปฏิบัติการวิชาชีพ (Higher Vocational Education) เพื่อพัฒนาต่อยอดให้
ผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา มีโอกาสพัฒนาความรู้และทักษะ ตลอดจนโอกาสความก้าวหน้าในด้าน
การศึกษาในสายปฏิบัติ
abstract:
ABSTRACT
Title The Management of Vocational Education in Bilateral Systems To
raise the quality of Thai workers
Field Social - Psychology
NaMe Mr.Nattapop Keawsumrit Course NDC Class 60
This research aims to study and analyze the current situation. Problems,
Success Factors and Failure of Teaching and Learning the Bilateral System of
Vocational Education Institutes in Thailand. To provide more guidance and
suggestions on the bilateral education system of vocational education institutions.
Including the implementation of the reform of the vocational education system to
the bilateral vocational training in Thailand. Scope of Research This research will
cover both government and private vocational schools on the issues of bilateral
vocational education management. In order to achieve the direction and measure of
success in bilateral teaching and learning. To bring to concrete action. This research is
a qualitative research. Use the document analysis method. The results of the study
showed that 1) the management of vocational training in bilateral and domestic
enterprises was divided into 4 models, namely, Model A, full-scale bilateral
vocational training. (Hundred percent) in the area is the establishment. In the area of
education, all students in all disciplines. Has been trained in Model B establishment
Full-scale bilateral vocational training (100 percent) outside the area, there are no
establishments in the educational setting. All students in all majors have been
trained in the workplace. It must be located close to the establishment where the
vocational training for students and supervised by Model C, some bilateral vocational
training and Model D to provide vocational training for employees of the
establishment. 2) Vocational training of bilateral foreign system is divided into 1
Model, Model E, Vocational Training, Bilateral System with Foreign Institutions. And
overall, the feedback. Ministry of Education should encourage links. Including the
management of higher education. Higher Vocational Education to develop graduates
of vocational education. Opportunity to develop knowledge and skills. The
opportunity to progress in the field of education.