Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่นด้วยโครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์กรณีศึกษาชุมชนปากน้ำประแส

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว ณรินณทิพ วิริยะบัณฑิตกุล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง : แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่นด้วยโครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ กรณีศึกษาชุมชนปากน้้าประแส ลักษณะวิชา : การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย : นางสาว ณรินณ์ทิพ วิริยะบัณฑิตกุล หลักสูตร วปอ. รุ่นที่60 การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้.- 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของโครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 2. เพื่อวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคและปัจจัยที่ส่งผลต่อการด้าเนินงานหมู่บ้านอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ 3. เพื่อน้าเสนอตัวแบบ (Model) ของหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ เนื่องจากเป็นโครงการที่ส้าคัญในการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได้มี รายได้เสริมจากการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่เกิดการจ้างงาน และกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น โดยตรง ผู้วิจัยท้าการรวบรวมข้อมูลเอกสารทางวิชาการ และท้าการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยหัวหน้าชุมชนจ้านวน 3 ท่าน ตัวแทนร้านค้าจ้านวน 3 ท่าน เจ้าหน้าที่ส้านักงานเทศบาล ต้าบลปากน้้าประแส ที่ปรึกษาการพัฒนาชุมชนและที่ปรึกษาโครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ จึงน้าข้อมูลที่ได้มาใช้ในการในการวิเคราะห์ โดยท้าการศึกษาสภาพชุมชนในปัจจุบัน สภาพปัญหา และอุปสรรคในการด้าเนินงาน และน้ามาสร้างแนวทาง หรือต้นแบบในการด้าเนินโครงการหมู่บ้าน อุตสาหกรรมสร้างสรรค์เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถน้าไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม เกิดประโยชน์ สูงสุด ผลการศึกษาพบว่า 1. การด้าเนินโครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์มีส่วนช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจ ท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวทั้งในรูปแบบกิจกรรม เส้นทางการท่องเที่ยว สินค้าที่ระลึกจากการท่องเที่ยว และมีการประชาสัมพันธ์ให้คนทั่วไปทราบ ในระดับหนึ่ง 2. ปัญหาและอุปสรรคในการด้าเนินการโครงการพบว่ามาจากทั้งปัจจัยภายในชุมชนเอง คือปัญหาด้านทรัพยากรมนุษย์โดยชุมชนขาดผู้น้าที่เป็นศูนย์รวมจิตใจให้ชาวชุมชนเข้ามาร่วมมือร่วม ใจในการพัฒนาชุมชนด้านการท่องเที่ยวประกอบกับประชากรส่วนใหญ่ของชุมชนเป็นช่วงวัยกลางคน และผู้สูงวัย ส่งผลท้าให้ขาดแรงจูงใจในการพัฒนาศักยภาพของตน และปัจจัยด้านระยะเวลาในการ ด้าเนินโครงการสั้น ไม่ต่อเนื่อง และขาดการประชาสัมพันธ์โครงการจากทางภาครัฐ ล้วนส่งผลต่อ ความส้าเร็จในการด้าเนินงานโครงการ ซึ่งมีเป้าหมายในการพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง และเป็นเป้าหมาย ในระยะยาว 3. สรุปต้นแบบในการพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่นด้วยโครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ทางภาครัฐจะต้องก้าหนดนโยบายการด้าเนินงานเป็นระยะเวลา 3-5 ปีเพื่อให้เกิดการ ด้าเนินงานที่ต่อเนื่อง ควรสนับสนุนด้านการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวชุมชน และท้าการจัดตั้ง สถาบันการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน เพื่อให้เป็นสถาบันที่จะช่วยพัฒนายกระดับทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นหัวใจที่ส้าคัญที่สุดในการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

abstract:

ABSTRACT Title : The local economic development through The Creative Industry Village project Case study of Prasae’s Community Rayoung Field : Economics Name : Miss Narintip Viriyabanditkul Course : NDC Class : 60 The objectives of this research were 1. to study the current state of The Creative Industry Village 2. to analyze the problem and factors affecting the operation of The Creative Industry Village project 3. to creating the model for The Creative Industry Village project The Creative Industry Village project has aimed to development the capital of the community for self-reliance and gained more income from tourism sector which directly to the local. The method of this study are documentary collection and in depth interview with key informant such as head of community 3 persons, the representative of local store 3 persons, municipal officer, the consultant of Prasae’s community and the consultant of The Creative Industry Village Project. The data analyzing including the current state, the problem and factors affecting the operation of Creative Industry Village project. Finally this study attempt to creating the model of operation for The Creative Industry Village and bring benefit to those who may concern. The result revealed that 1. The implementation of The Creative Industry Village project is enhancing community economic such as the product were developed through souvenir, events for tourist activities and public relation. 2. The most important problem is human factor, lack of leadership to make unity of Prasae’s community and the most of them were in the middle aged that has some of motivation to develop their performance. Another problem is the shorter term of the project’s timeline that is too short which contrary to the goal’s achievement the has purpose to enhance the community resource. 3. The Creative Industry Village project implementation model suggestion are , the government should making formulation for long term of fiscal policy by 3-5 years and enhance the public relation about community tourism and established The sustainable community development institute that working for improving the human resources which is the most important factor of community development.