เรื่อง: แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการอำนวยความสะดวกทางด้านการค้าเพื่อความยั่งยืนทางเเศรษฐกิจ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ฐิติเศรษฐ์ เศรษฐบุตร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการอ านวยความสะดวกทางด้านการค้า
เพื่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายฐิติเศรษฐ์ เศรษฐบุตร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60
ในสภาพเศรษฐกิจโลกที่มีความเชื่อมโยงระหว่างกันสูง จากห่วงโซ่การผลิตสินค้ามีการ
กระจายตัวไปในหลายประเทศ ตามข้อได้เปรียบทางการแข่งขันของประเทศนั้นๆ การค้าขายระหว่าง
ประเทศจึงเป็นกลไกขับเคลื่อนส าคัญของระบบเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน การเคลื่อนไหวของสินค้าทุนและ
วัตถุดิบที่มีความไหลลื่น ได้กลายเป็นปัจจัยที่นักลงทุนพิจารณา และเป็นช่องทางที่ผู้ประกอบการขนาด
กลางและขนาดย่อมสามารถก้าวเข้าสู่ตลาดต่างประเทศได้ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันธุรกิจไทยเผชิญกับ
อุปสรรคในการค้าขายสินค้าระหว่างประเทศ กับกระบวนการเคลื่อนย้ายสินค้าที่มีความซับซ้อนและใช้
เอกสารจ านวนมาก ประกอบกับกฎระเบียบรายสินค้าที่มีอยู่เป็นจ านวนมาก ปัญหาและอุปสรรคเหล่านี้
เป็นที่มาของแนวคิดการอ านวยความสะดวกทางการค้า ซึ่งคือการลดอุปสรรคทางการค้าขายสินค้า
ระหว่างประเทศที่เกิดจากกระบวนการของภาครัฐ และการท าให้กระบวนการส่งออกและน าเข้ามีความ
กระชับ ทันสมัย และได้มาตรฐานสากล เอกสารวิจัยฉบับนี้จึงจัดท าขึ้นเพื่อ 1. ศึกษาผลกระทบที่เกิดจาก
มาตรการอ านวยความสะดวกทางการค้าต่อเศรษฐกิจ และความมั่นคง 2. วิเคราะห์จุดแข็งและจุดที่ควร
ได้รับการปรับปรุงของระบบการอ านวยความสะดวกทางการค้าของประเทศไทย 3. เสนอแนะแนวทางเพิ่ม
ประสิทธิภาพการอ านวยความสะดวกทางการค้า เพื่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ โดยขอบเขตของการวิจัย
จะศึกษาเชิงลึกเฉพาะมิติที่เกี่ยวข้องกับพิธีการศุลกากรและบริการที่เกี่ยวข้องกับการค้า โดยวิธีด าเนินการ
วิจัยจะเป๊นการเก็บข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลปฐมภูมิ และวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาเพื่อจัดท าข้อเสนอแนะ
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัยคือ 1. ได้รับทราบถึงผลกระทบของมาตรการการอ านวยความสะดวกทาง
การค้าต่อเศรษฐกิจและความมั่นคง 2. ได้รับทราบสถานะและพัฒนาการของระบบการอ านวยความ
สะดวกทางการค้าของประเทศไทย จุดแข็งและจุดที่ควรได้รับการปรับปรุง และ 3. ได้ข้อเสนอแนะแนว
ทางการเพิ่มประสิทธิภาพการอ านวยความสะดวกทางการค้าเพื่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ
abstract:
ABSTRACT
Title Recommendations on Enhancing Trade Facilitation for Economic
Sustainability
Field Economics
Name Mr. Thitisesh Seshtabutra Course NDC Class 60
This study aims to 1. Identify the effects of trade facilitation measures on
the economy 2. Analyze the strengths and weaknesses of the trade facilitation system
in Thailand 3. Provide guidance on enhancing the efficiency of trade facilitation for
economic sustainability. The scope of research focuses on the dimensions related to
customs and trade-related services. The methodology includes both primary and
secondary data collection. The findings of this study can be summarized as follows:
1. Effective trade facilitation will have a positive impact on economic growth. It also
encourages foreign investment, promotes SMEs and customs reform. 2. Thailand
National Single Window can enhance better understanding of single window
development and facilitate integrated data linkage among government and business
sectors. However, the cooperation between government agencies needs some
improvement. 3. Improvement of the physical structure and institutional structure
related to international import and export, hiring private service providers and
increasing the use of data analytics can enhance Thailand's trade facilitation. Finally,
recommendations from the study are divided into 1. Policy 2. Operating and 3.
Academic. For policy recommendations, the government agencies should follow the
best practice and follow up on new technologies. For operating recommendations, it
needs good cooperation among agencies and promote the collaborative learning
environment, create feedback loop and focus on monitoring performance. For
academic recommendations, personnel preparation is the key. The development of
knowledge in the topic of management and big data analytics can enhance the
efficiency of trade facilitation.