Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาบทบาทของมณฑลทหารบก/จังหวัดทหารบกในการบรรเทาสาธารณภัย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี เมธี พยอมหอม
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง แนวทางการพัฒนาบทบาทของ มณฑลทหารบก/จังหวัดทหารบกในการ บรรเทาสาธารณภัย ลักษณะวิชา การทหาร ผ้วิจัย ู พลตรี เมธี พยอมหอม หลักสูตร วปอ. ร่นที ุ 56 การศึกษาวิจัยเรื)อง แนวทางการพัฒนาบทบาทของ มณฑลทหารบก/จังหวัดทหารบก ในการบรรเทาสาธารณภัย มีวัตถุประสงค์คือ /. เพื)อศึกษาบทบาทของหน่วยมณฑลทหารบก/ จังหวัดทหารบก ในการบรรเทาสาธารณภัยที)เกิดขึ1น และ 2. เพื)อเสนอแนวทางการพัฒนาบทบาท ของหน่วยมณฑลทหารบก/จังหวัดทหารบก ในการบรรเทาสาธารณภัย การศึกษาครั1งนี1เป็ นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์บทบาทหน้าที)ของมณฑล ทหารบกและจังหวัดทหารบกในกิจการสาธารณภัยจากกฎหมายตามพระราชบัญญัติการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.299: แผนป้ องกนและบรรเทาสาธารณภัยแห ั ่งชาติ พ.ศ.299< - 299> และแผนบรรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม พ.ศ.299? รวมถึง แนวคิดและหลักการในระบบ การบริ หารจัดการกิจการสาธารณภัยที)เป็ นสากล การศึกษาข้อมูลเพิ)มเติมจากเอกสารวิจัยที) เก ี)ยวข้องและจากการสัมภาษณ์ผู้บังคับหน่วย มณฑลทหารบก/จังหวัดทหารบก ผู้บัญชาการกอง พลทหารช่าง และผู้บังคับหน่วยทหารในพื1นที)ฯ เกี) ยวกบแนวคิดในการดําเนินงานของหน ั ่วยทหาร ในการบรรเทาสาธารณภัย ซึ) งเป็ นข้อมูลเชิงปฏิบัติการ นํามาวิเคราะห์และสรุปเสนอแนวทางที) เหมาะสมกบสภาพการปฏิบัติงานในปัจจุบัน ั ผลการศึกษาสรุปได้ 2 ประเด็นที)สําคัญกล่าวคือ /. การดําเนินงานของหน่วยมณฑล ทหารบกและจังหวัดทหารบกในการป้ องกนและบรรเทาสาธารณภัยควรทําหน้าที)ประสานงาน ั ระหว่างกองอํานวยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกับหน่วยงานทหารต่างๆที)เข้า ปฏิบัติงาน และ 2. เพิ)มศักยภาพในการบรรเทาสาธารณภัยของทหารโดยขยายหน่วยในอัตราจาก กองร้อยมณฑลทหารบก/จังหวัดทหารบกเป็ นหน่วยระดับกองพัน เพื)อสามารถจัดชุดเผชิญ สถานการณ์วิกฤติเสริมการปฏิบัติงานในการแกปัญหาช ้ ่วยเหลือผู้ประสบภัยใน 2? ชัวโมงแรก ) ข้อ เส นอ แน ะ ที) เ หม า ะ ส ม จา ก ก า รศึ ก ษ า พ บ ว่า แผ นบ รร เ ท า ส า ธ า รณ ภัย กระทรวงกลาโหมควรกาหนดให้ หน ํ ่วยมณฑลทหารบกและจังหวัดทหารบก ทําหน้าที)อํานวยการ ประสานงาน หน่วยทหารต่างๆที)เข้าปฏิบัติการในการบรรเทาสาธารณภัยในเขตพื1นที)จังหวัดเพื)อ ความเป็ นเอกภาพในการปฏิบัติงานและการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยมณฑลทหารบก/จังหวัด ทหารบกเพื)อเพิ)มประสิทธิภาพในการบรรเทาสาธารณภัยของกองทัพบกและกระทรวงกลาโหม

abstract:

ABSTRACT Title Guidelines for Development of Military Circle/Military District’s Roles in Disaster Relief Field Military Name Maj.Gen. Matee Payomhorm Course NDC Class 56 The research in “Guidelines for Development of Military Circle/Military District’s Roles in Disaster Relief” has the following objectives;1) to study roles of Military Circle/Military District in disaster relief and 2) to recommend guidelines for development of Military Circle/Military District’s roles in disaster relief. This research is qualitative research by analyzing roles and responsibilities of Military Circle/Military District conducting disaster relief missions according to Disaster Prevention and Relief Act of B.E.2550, National Disaster Prevention and Relief Plan of B.E.2553-2557, Ministry of Defense‘s Disaster Relief Plan of B.E.2554, additional study from related researches as well operational-sided information regarding disaster relief conducted by military that is collected from interviewing Military Circle/Military District commanding officers, engineer division commanders and military commanding officers in the field areas. The data was analyzed and proper conclusions suitable present circumstances were suggested. The research concluded 2 important points which were 1) the conduct of The Military Circle/Military District should perform coordinating role between provincial disaster prevention and relief administration and military forces in disaster relief mission and 2) provision to improve disaster relief potentials of military by expanding organic units of Military circle/Military District from company to battalion level so that they are capable to provide Emergency Response Team enhancing the conduct of disaster relief missions within the first 24 hours. The research recommends that the Ministry of Defense‘s Disaster Relief Plan should appoint Military Circles and Military Districts to coordinate various units conducting disaster relief missions within the provincial areas in order to gain unity of effort principle. In addition, there should be structure improvement of military circles and military districts to increase efficiency in disaster relief missions of the Army and Ministry of Defense.