เรื่อง: แนวทางการพัฒนาความพร้อมของข้าราชการสังกัดกระทรวงกลาโหม เพื่อเข้าสู่ดิจิทัลไทยแลนด์
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ชุมโชค พลสมัคร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนานโยบายการบริหารกระทรวงกลาโหมบนเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัล
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลตรี ชุมโชค พลสมัคร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑. เพื่อศึกษาสภาพการณ์และปัญหาการปฏิบัติภารกิจและหน้าที่
ของบุคลากร ๒. เพื่อศึกษาความคิดเกี่ยวกับนโยบายการบริหารกระทรวงกลาโหมบนเครือข่ายเทคโนโลยี
ดิจิทัล และ ๓. เพื่อจัดท าแนวทางการพัฒนานโยบายการบริหารกระทรวงกลาโหมบนเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัล
โดยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพจากการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสาร และข้อมูลปฐมภูมิจากแหล่งข้อมูล
๑. บุคลากรกระทรวงกลาโหมทุกระดับ ๒. ผู้บริหารระดับต้น (ล่าง) ระดับกลาง และระดับสูง เครื่องมือที่ใช้ใน
การวิจัยคือ แบบสอบถามเกี่ยวกับนโยบายการบริหารกระทรวงกลาโหมบนเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัล และ
แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนานโยบายการบริหารกระทรวงกลาโหมบนเครือข่าย
เทคโนโลยีดิจิทัล ผลการวิจัยพบว่า
๑. แนวทางการพัฒนานโยบายการบริหารองค์กรจะต้องเกิดจากแผนยุทธศาสตร์ที่ก าหนดขึ้นโดย
จะต้องให้ความส าคัญกับแผนปฏิบัติการ ขณะเดียวกันการวางแผนยุทธศาสตร์ควรน าแนวคิดเกี่ยวกับปัจจัย
การบริหาร (๔ ด้าน) ที่ครอบคลุมการบริหารจัดการ การบริหารงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์และบุคลากรซึ่งถือ
เป็นหัวใจส าคัญขององค์กร
๒. การศึกษาข้อมูลจากแหล่งข้อมูล (ผู้ให้ข้อมูล) ปรากฏผลดังนี้
๒.๑ ความคิดเกี่ยวกับนโยบายการบริหารกระทรวงกลาโหมบนเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลโดย
รวมอยู่ที่ระดับมากคือ ด้านการบริหารจัดการ(
X = 3.88, S.D. = .695) ด้านงบประมาณ (
X = 3.70, S.D. =
.730)ด้านวัสดุอุปกรณ์ (
X = 3.81, S.D. = .690) และด้านบุคลากร (
X = 3.78, S.D. = .763)
๒.๒ จากการวิเคราะห์เนื้อหาและสังเคราะห์ประเด็นการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับต้น(ล่าง)
ระดับกลาง และระดับสูงมีสาระส าคัญที่สามารถตีความเป็นนัยยะดังนี้ ๑) สาระส าคัญที่สุดที่สัมพันธ์กับ
นโยบายการบริหารระดับกระทรวงกลาโหมคือ ทรัพยากร วิสัยทัศน์ และพันธกิจขององค์กร ๒) สาระส าคัญ
รองระดับที่ ๑ เป็นสิ่งที่สัมพันธ์กับนโยบายการบริหารระดับหน่วยขึ้นตรงคือ บุคลากรงบประมาณ การบริหาร
จัดการเทคโนโลยีดิจิทัล และการจัดการเชิงยุทธศาสตร์ การจัดระบบงานและฐานข้อมูล การประเมิน ระบบ
ปฏิบัติการและการรายงานผล ๓) สาระส าคัญรองระดับที่ ๒ เป็นสิ่งที่สัมพันธ์กับนโยบายการบริหารระดับ
ส่วนราชการของหน่วยขึ้นตรงคือผู้ปฏิบัติการผู้บริหาร นักวิชาการ และ/หรือผู้เชี่ยวชาญ ตลอดจนการจัดท า
ยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และประเทศไทย ๔.๐
๓. การก าหนดแนวทางการพัฒนานโยบายการบริหารด้วยระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลที่
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันทั้งระบบโดยให้ความส าคัญกับการบริหารการจัดการเชิงกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ
ระยะ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) ที่ใช้เป็นกรอบการพัฒนาหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ๒๐ ปีข
ข้อเสนอแนะ :
การวิจัย แนวทางการพัฒนานโยบายการบริหารกระทรวงกลาโหมบนเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลมี
ข้อเสนอแนะ ดังนี้
๑. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
๑.๑ ควรศึกษาความพร้อมของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหม รวมถึงการศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างความพร้อมของผู้ปฏิบัติงานกับความพร้อมของหน่วยงานก ากับดูแลเพื่อการวางแผน
ยุทธศาสตร์ได้อย่างสอดคล้องกัน
๑.๒ การก าหนดยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติ ควรให้มีความสอดคล้องเหมาะสมกับแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และประเทศไทย ๔.๐ โดยให้การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลที่มีมาตรฐานที่
ต่อเนื่องตลอดเวลา
๑.๓ หน่วยขึ้นตรงกระทรวงกลาโหมและองค์กรที่เกี่ยวข้องควรมีการบริหารจัดการระบบ
เทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัยเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล
๑.๔ หน่วยงานทุกระดับในสังกัดกระทรวงกลาโหม ควรมีส่วนร่วมในการพิจารณาความเหมาะสม
ของการบริหาร โดยค านึงถึงระบบคุณคาขององค์กรตามยุทธศาสตร์ และแผนงานเพื่อการบรรลุเป้าหมายสูงสุด
๒. ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิบัติ
๒.๑ ควรส่งเสริมศักยภาพของข้าราชการทั้งด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถเพื่อประโยชน์
ต่อการพัฒนาองค์กรรองรับรองรับสังคมยุคใหม่
๒.๒ ควรมีการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการท างานและความพร้อมในการรองรับนโยบาย
การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล และประเทศไทย ๔.๐ ที่มีมาตรฐานเพื่อให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
๒.๓ ควรพัฒนาองค์กรที่จ าเป็นต้องพึ่งพาเทคโนโลยีอย่างเท่าทันต่อกระแสโลกาภิวัตน์และ
ตอบสนองต่อความต้องการจ าเป็นของประชากรในทุกกลุ่มเป้าหมาย
๓. ข้อเสนอแนะเชิงวิชาการ
ควรมีการศึกษาผลกระทบของประสิทธิภาพการท างาน และความพร้อมในการรองรับ
เทคโนโลยีดิจิทัล เช่น ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีดิจิทัล นโยบายการบริหาร และการปฏิบัติงาน
เป็นต้น
abstract:
ค
Abstract
Title Developing to Management Policy for Ministry of Defense base on Technology
Digital Network
Field Military
Name Maj.Gen Chumchoke Polsamak Course NDC Class 60
The purpose of this research were 1) to situation and problems of mission and
duties of personnel2) to study sentiment the management policy of Ministry of Defense base
on technology digital network and 3) developing to management policy for Ministry of Defense
base on technology digital network.This study is qualitative research to secondary data source
the documentand primary data sourcefrom 1) all personnel level under the Ministry of Defense
2) executive officer, executive middle and chief executive. The instruments were opinion
questionnaires and semi-structured Interview. The research results were :
1. Track to management policy development for organization trail to strategic
planning recurrent focus action plan. At the same time, strategic planning to management
factors should be taken intocovers account 4’M (Management, Money, Material and Man)
This is the importance of organizational management.
2. Study of data from sources. (The contributor) appears as follows:
2.1 The opinion questionnaires for view the management policy of Ministry of
Defense base ontechnology digital network consisted 1) Management (
X = 3.88, S.D. = .695)
2) Money (
X = 3.70, S.D. = .730) 3) Materials (
X = 3.81, S.D. = .690) and 4) Man(
X = 3.78 ,
S.D. = .763)
2.2 To content analysis and synthesis analysis to sentiment the 3 level
administers; executive officer, executive middle and chief executive. There is an essence
that can be interpreted as meaning : The Subtheme 1 is primary key of Ministry of Defense
review to resource, vision and mission,The subtheme2 is organic units management have to man,
money, management, digital technology and strategic planning, organization of the system and
database, operating system evaluation and reporting. The subtheme 2 is the official unit of the
straight up to concern executives, administrators, academics and /or experts. Including to
strategic planning to be consistent National strategy plan 20 years and Thailand 4.0.
3. To trail the policy development with digital technology system associations with
administration, resource, technology and network, operating system, Relevant law and
standard databasevia management , strategic planning, action plan4 years (B.E.2560 -2564),
as an efficiency and effectiveness tally with National Strategic 20 years , Thailand 4.0 and
current situation.ง
Suggestion :
Developing to Management Policy for Ministry of Defense base on Technology
Digital Network, as follows :
1. Policy suggestion
1.1 Preparedness studies the agency of Ministry of Defense and include the
relationship between readiness of workers and agencies regulatory authorityfor strategic
planning is consistent.
1.2 Strategic planningand action plan appropriatethe National strategy 20 years
and Thailand 4.0 by analyzing, synthesizing and standard evaluating is continuous all the time.
1.3 The agencies of Ministry of Defenseand related organizations should have
a modern management technology digital network system follow digital economy policy.
1.4 All of state agency under the Ministry of Defense should be involved in
the proper consideration to management of the organization's value system based on
the strategyand planning for the highest goal.
2. Recommendations for practice
2.1 Should be human resource management skills, knowledge and ability for
benefits to organizational development support for modern society.
2.2 Should be compared performance method of work and readiness for
policy support Technology Digital Network and Thailand 4.0 to standard for performance
improvement.
2.3 Should develop organization withTechnology Digital Networkto appropriate
globalization and respond to the need assessment of population in all target groups.
3. Academic suggestion
Should be studied the impact of work performanceand readiness for technology
digital network such as the technology expertise, management policy and performance,etc.