เรื่อง: แนวทางการสร้างความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ในการบริหารโครงการจัดหายุทโธปกรณ์ของกองทัพอากาศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลอากาศตรี ชานนท์ มุ่งธัญญา
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
- ก -
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการสร้างความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ในการบริหาร
โครงการจัดหายุทโธปกรณ์ของกองทัพอากาศ
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พล.อ.ต.ชานนท์ มุ่งธัญญา หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
การวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาหลักการและแนวทางความร่วมมือในการบริหารโครงการจัดหา
ยุทโธปกรณ์ตามทิศทางยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ ปี โดยค านึงถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกัน
ประเทศเพื่อรองรับงานด้านความมั่นคงอย่างเป็นระบบ ซึ่งเป็นไปตามทิศทางยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
(ฉบับร่าง) โดยใช้กรณีศึกษาโครงการส าคัญของกองทัพอากาศ ภายใต้กรอบแนวคิดความร่วมมือใน
การบริหารโครงการ (Collaborative Integration and Strategic Partners) และสังเคราะห์เพื่อ
เสนอแนะแนวทางความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ในการบริหารโครงการจัดหายุทโธปกรณ์อนึ่ง
ผลการศึกษาสามารถสรุปปัจจัยส าคัญในการสร้างความร่วมมือ ได้แก่ (๑) ปัจจัยบุคลากร (๒) ปัจจัย
การบริหารจัดการ (๓) ปัจจัยยุทโธปกรณ์/โครงสร้างพื้นฐาน (๔) ปัจจัยเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร และ (๕) ปัจจัยการใช้งาน/ปฏิบัติงาน โดยมีรูปแบบ/แนวทางความร่วมมือ ได้แก่
(๑) ความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และข้อมูล (๒) ความร่วมมือในการแลกเปลี่ยน
ทรัพยากร (๓) ความร่วมมือในการร่วมผลิต/ร่วมปฏิบัติงาน และ (๔) ความร่วมมือในการลงทุนร่วม
ทั้งนี้ จากการวิเคราะห์ ๒ กรณีศึกษาตามปัจจัยส าคัญดังกล่าว ยืนยันได้ว่าทั้ง ๒ กรณีศึกษา
มีการสร้างความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ระหว่างบริษัทคู่สัญญาของประเทศผู้ผลิต และมีความร่วมมือ
กับบริษัทอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทย ซึ่งน าไปสู่การเสริมสร้างขีดความสามารถ
กองทัพอากาศ เช่น การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านการบินและด้านระบบอาวุธของนักบิน การรับรอง
การใช้งานอาวุธกับอากาศยาน การถ่ายทอดความรู้ในการใช้งานเครื่องมือพิเศษ (Special Tools) และ
การวิเคราะห์ระบบอาวุธตามแบบจ าลอง (Simulation and Testing) เป็นต้น อย่างไรก็ตามไม่ปรากฏ
ว่าความร่วมมือในการลงทุนร่วมกันระหว่างกองทัพอากาศและบริษัทคู่สัญญา ท้ายที่สุด ผู้วิจัย
วิเคราะห์และจัดท าข้อเสนอแนะแนวทางความร่วมมือ ในการบริหารโครงการจัดหายุทโธปกรณ์
ตลอดวัฏจักรของการบริหารโครงการ (Project Life Cycle) เพื่อเป็นแนวทางน าไปสู่การเป็น
หน่วยงานจัดหายุทโธปกรณ์ที่ชาญฉลาด (Smart Buyer) ตลอดจนสามารถพัฒนาและยกระดับ
อุตสาหกรรมป้องกันประเทศได้อย่างยั่งยืนต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title Strategic Collaboration of The RTAF Project Management
Field Military
Name Air Vice Marshal Chanon Mungthanya Course NDC Class 60
The research objectives are to study modern collaboration management
theories and to identify the proper strategic collaboration and integration guideline.
Such guideline is able help RTAF to strategically manage weapon projects with
recognition of the national strategy (20 years) focusing on national defense industry.
This research was conducted based on two cases of RTAF weapon projects. After
analyzing and synthesizing all theories and concepts, five critical factors were
summarized including; (1) human, (2) management, (3) weapon and infrastructure, (4)
information technology and communication, and (5) operation. Four collaboration
types was identified including; (1) knowledge and information Sharing, (2) resource
sharing,
(3) operation and production sharing, and (4) Co-Investment. Two cases both aircraft
and weapon projects were analyzed according to five factors and four collaboration
types. The results indicated that both projects having critical and creative
collaboration among RTAF, contractors and Thai local partners. The highlight of
collaborations: for example, technical aviation knowledge, weapon integration and
certification process, special tools utilization, analysis of simulation and testing and
etc. However, no
co-investment collaboration was found. Consequently, the strategic collaboration and
integration guideline was developed and recommended to conduct throughout RTAF
project life cycle which will benefit to all involved parties. As a result, the RTAF is
able to apply such guideline in order to become smart buyer which will strategically
lead to enhance and sustain national defense industry in the near future.