เรื่อง: แนวทางการจัดตั้งกองทุนภัยพิบัติเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ชาติชาย ชินเวชกิจวานิชย์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการจัดตั้งกองทุนภัยพิบัติเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย ชาติชาย ชินเวชกิจวานิชย์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60
การเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นมหันตภัยที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันเป็นการน ามาซึ่งความ
สูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ดังนั้น การ
บริหารความเสี่ยงที่เกิดจากภัยพิบัติธรรมชาติ ถือเป็นภารกิจของรัฐบาลที่ต้องให้ความส าคัญ จึงเป็นที่มา
ของงานวิจัยเพื่อศึกษารวบรวมข้อมูลสถิติการเกิดภัยพิบัติธรรมชาติที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อประเทศไทย
ที่ผ่านมา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษารูปแบบเป็นแนวทางให้รัฐบาลจัดตั้งกองทุนประกันภัย
พิบัติในประเทศไทย 2) วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการจัดตั้งกองทุน 3) เสนอแนะแนวทางการ
จัดตั้งกองทุนภัยพิบัติโดยขยายความคุ้มครองรวมถึงประกันภัยข้าวและพืชผลทางการเกษตร เพื่อความ
มั่นคงทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนของประเทศต่อไป
ท าการเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และเก็บข้อมูลปฐมภูมิ
โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก(Indepth Interview) จากผู้ทรงคุณวุฒิ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐบาล และภาคเอกชน
จ านวน 12 คน
ผลการศึกษาวิจัยพบว่าวิกฤตการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ในหลายพื้นที่ของประเทศไทย ช่วง
ปลายปี 2554 ส่งผลให้เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยโดยรวมถดถอยและอยู่ในภาวะที่มีความเสี่ยง
ต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศรัฐบาลจึงมีความจ าเป็นเร่งด่วนที่จะต้อง
บูรณะฟื้นฟูประเทศและเยียวยาความเสียหายให้แก่ประชาชน และผู้ประกอบการให้ได้รับความคุ้มครอง
ทรัพย์สินที่อาจเกิดความเสียหายขึ้นในอนาคต และเพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อการลงทุนในประเทศในอันที่
จะรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในการศึกษาข้อมูลพบว่าปัญหาและอุปสรรคที่ส่งผล
กระทบต่อการจัดตั้งกองทุนประกันภัยพิบัติในประเทศไทย มีปัจจัยดังนี้ 1) วงเงินในการบริหารจัดการ
ความเสี่ยงด้านภัยพิบัติสามารถบริหารจัดการเพื่อรองรับความเสียหายสูงสุดแบบจ ากัด 2) การคิดอัตราเบี้ย
ประกันภัยเป็นอัตราเดียวกันทั้งหมด 3) ช่องทางการซื้อประกันภัยของของเกษตรกรไม่สะดวกในการมา
ซื้อประกันภัย4) ปัญหาการซื้อกรมธรรม์ภัยพิบัติ จะต้องซื้อกรมธรรม์ประภัยภัยหลักก่อน ถึงจะมีสิทธิ์
ในการท าประกันภัยพิบัติได้
จึงขอเสนอแนวทางแนวทางการจัดตั้งกองทุนภัยพิบัติเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจโดย
ขยายความคุ้มครองรวมถึงประกันภัยข้าวนาปีและพืชผลทางการเกษตร เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจอย่าง
ยั่งยืนของประเทศต่อไป จึงท าการสรุปข้อเสนอแนะเป็น 3 ด้าน คือ ด้านนโยบาย ด้านปฏิบัติการ และด้าน
วิชาการ
abstract:
ABSTRACT
Title The establishment of a disaster fund for economic stability in Thailand
Field Economics
Name Chatchai Chinvetkitvanit Course NDC Class 60
Natural disaster, a sudden catastrophe can cause losses of life and property damage
and also severe impact on economic. Natural disaster risk management is an important
government mission, and it is kindle of this research to study the statistics of natural disasters that
affected the Thailand in the past for the purpose of 1) Study the model for the government can set
up a natural disaster fund in Thailand. 2) Analysis of factors affecting the establishment of the
natural disaster fund. 3)Propose guidance for the establishment of a natural disaster fund, extend
to cover rice and agricultural crops insurance for sustainable economic stability of the country.
Collecting secondary data by reviewing relevant literature and collecting primary
data by in-depth interview with experts and professionals from government and private sector.
The study found that big flood crisis in late 2011 impacted various parts of Thailand
weaken Thailand's economy and put Thailand to risky state to local and foreign investors. Government
has to haste to reestablish and restored the damages caused by flood and prevent further damage that
can occur, as well as reestablish confidence in investment to stabilize Thailand’s economy. The results
of the research summarize to 3 main objectives;1) Natural disaster fund has a limited fund to manage
unexpected the event of unexpected loss, which could be higher or beyond capability of natural
disaster fund. 2) Premium pricing are the same throughout the country. 3) Distribution channel are
restricted, traditionally natural catastrophe insurance can be purchase through insurance company, it
would be inconvenience for farmers to buy natural disaster insurance, and conventionally it will be
purchased along with traditional property insurance product.
This research a guidance to create natural disaster fund which suitable for Thailand, by
adding coverage of in-season rice and agricultural crops to natural disaster fund, this could help to
stabilize Thailand’s economic by hedging and mitigating unexpected natural catastrophe risk, and will
be summarize to policy, operational and academic.