สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
011732
Today :
000197
Total :
047637
Download :
000057
เรื่อง:
การพัฒนาอาชีพท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์ชุมชนภายใต้กลยุทธ์การจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ดร. มงคลชัย สมอุดร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ
บทคัดย่อ:
ก บทคัดย่อ เรื่อง การพฒั นาอาชีพท้องถิ่นและผลิตภณั ฑ ์ ชุมชนภายใต้กลยุทธ ์ การจดัการอาชีวศึกษา และฝึ กอบรมวิชาชีพในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั ดร.มงคลชัย สมอุดร หลักสูตรวปอ. รุ่นที่๕๖ งานวิจยัมีวตัถุประสงคเ์พื่อสา รวจจา นวนอาชีพทอ้งถิ่นและผลิตภณั ฑช์ ุมชนและการปฏิบัติ ที่เป็ นเลิศภายใต้กลยุทธ์การจัดการอาชีวศึกษาและฝึ กอบรมวิชาชีพในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้ระเบียบวิธีวิจัยเป็ นแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methodology) โดยใช้การวิจัยเชิงส ารวจ เพื่อหาจา นวนของอาชีพทอ้งถิ่นและผลิตภณั ฑช์ ุมชนฯ ผใู้หข้อ้มลู ที่สา คญั คือผรู้ับผิดชอบโครงการท้งั ๕ โครงการ จากสถานศึกษาสังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจฯ จ านวน ๑๘สถานศึกษา และใช้การวิจัยเชิงคุณภาพโดยคัดเลือกจากการปฏิบัติที่เป็ นเลิศภายใต้โครงการ ดังกล่าวผลการวิจัยพบว่าสถานศึกษาจ านวน ๑๘ สถานศึกษามีการดา เนินกิจกรรมท้งัหมด ๕๒โครงการ ย่อยที่ทา ให้เกิดอาชีพท้องถิ่นมากกว่าคร่ึงหน่ึง มีการดา เนินการด้านความรู้/ทักษะ เงินทุน วัตถุดิบ กระบวนการผลิต/บริ การ เครื่ องมือและอุปกรณ์ ด้านสถานที่ และรายได้จากการจ าหน่าย/บริ การ เทคโนโลยี คู่แข่ง เฉพาะด้านการตลาด/ช่องทางการจ าหน่ายและ บรรจุภัณฑ์ยังไม่มีการด าเนินการที่ ชัดเจน องค์ประกอบแห่งความส าเร็จมาจากความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ ความเข้มแข็งร่วมมือจาก สมาชิก วิทยากรมีความรู้ความช านาญ การนิเทศติดตาม การมีรายได้ทุน/เครื่องมืออุปกรณ์/สถานที่ จ าหน่ายสินค้า ความมีวินัยรับผิดชอบ มุ่งมนั่ ต้งัใจของสมาชิก และการฝึ กทักษะอย่างต่อเนื่อง ปัญหา อุปสรรคมาจากความไม่สงบในพ้ืนที่มากที่สุด นอกจากน้นั ไดแ้ก่งบประมาณสนับสนุน เวลาของสมาชิก ไม่ตรงกัน ระยะทาง และภารกิ จของผู้รับผิดชอบ ส าหรั บการปฏิบัติที่ เป็ นเลิศพบว่า กลุ่ม สถาบันการศึกษาปอเนาะ ได้แก่ วิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา อาชีพการเพาะเห็ดแครงกลุ่มโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิสลาม ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคสตูล อาชีพการปลูกผักไร้ดิน กลุ่มเยาวชนสันติสุข ได้แก่ วิทยาลัยประมงปัตตานี อาชีพการเล้ียงปลาทับทิมในกระชังกลุ่มเยาวชนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ได้แก่ วิทยาลยัเทคนิคจะนะอาชีพช่างซ่อมจกัรยานยนต์และกลุ่มเพิ่มคุณวุฒิวิชาชีพและเกียรติบัตรประชาชน เพื่อไปท างานต่างประเทศ ได้แก่ วิทยาลัยการอาชีพสุไหงโก-ลก ข้อเสนอแนะ ให้มีการสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเชื่อมโยงบุคคลหรือกลุ่มเข้าด้วยกันในระดับหมู่บ้าน ต าบล อ าเภอ จังหวัด ในอาชีพ ทอ้งถิ่นหรือผลิตภณั ฑ์กลุ่มเดียวกนั เขา้ดว้ยกนัจะทา ให้มีอา นาจการต่อรองในการจดัทา และหาช่องทาง จ าหน่ายที่ต่อเนื่องได้โดยใช้กระบวนการวิจัย/การจัดการความรู้ตลอดจนการจัดท าแผนงานโครงการและ กิจกรรมที่เป็ นการต่อยอดงานเดิมที่มีให้มีรายได้เพื่อสร้างความเข้มแข็งอย่างต่อเนื่องสู่ความยงั่ยนื ต่อไป
abstract:
0