Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาอาชีพท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์ชุมชนภายใต้กลยุทธ์การจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ดร. มงคลชัย สมอุดร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การพฒั นาอาชีพท้องถิ่นและผลิตภณั ฑ ์ ชุมชนภายใต้กลยุทธ ์ การจดัการอาชีวศึกษา และฝึ กอบรมวิชาชีพในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั ดร.มงคลชัย สมอุดร หลักสูตรวปอ. รุ่นที่๕๖ งานวิจยัมีวตัถุประสงคเ์พื่อสา รวจจา นวนอาชีพทอ้งถิ่นและผลิตภณั ฑช์ ุมชนและการปฏิบัติ ที่เป็ นเลิศภายใต้กลยุทธ์การจัดการอาชีวศึกษาและฝึ กอบรมวิชาชีพในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้ระเบียบวิธีวิจัยเป็ นแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methodology) โดยใช้การวิจัยเชิงส ารวจ เพื่อหาจา นวนของอาชีพทอ้งถิ่นและผลิตภณั ฑช์ ุมชนฯ ผใู้หข้อ้มลู ที่สา คญั คือผรู้ับผิดชอบโครงการท้งั ๕ โครงการ จากสถานศึกษาสังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจฯ จ านวน ๑๘สถานศึกษา และใช้การวิจัยเชิงคุณภาพโดยคัดเลือกจากการปฏิบัติที่เป็ นเลิศภายใต้โครงการ ดังกล่าวผลการวิจัยพบว่าสถานศึกษาจ านวน ๑๘ สถานศึกษามีการดา เนินกิจกรรมท้งัหมด ๕๒โครงการ ย่อยที่ทา ให้เกิดอาชีพท้องถิ่นมากกว่าคร่ึงหน่ึง มีการดา เนินการด้านความรู้/ทักษะ เงินทุน วัตถุดิบ กระบวนการผลิต/บริ การ เครื่ องมือและอุปกรณ์ ด้านสถานที่ และรายได้จากการจ าหน่าย/บริ การ เทคโนโลยี คู่แข่ง เฉพาะด้านการตลาด/ช่องทางการจ าหน่ายและ บรรจุภัณฑ์ยังไม่มีการด าเนินการที่ ชัดเจน องค์ประกอบแห่งความส าเร็จมาจากความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ ความเข้มแข็งร่วมมือจาก สมาชิก วิทยากรมีความรู้ความช านาญ การนิเทศติดตาม การมีรายได้ทุน/เครื่องมืออุปกรณ์/สถานที่ จ าหน่ายสินค้า ความมีวินัยรับผิดชอบ มุ่งมนั่ ต้งัใจของสมาชิก และการฝึ กทักษะอย่างต่อเนื่อง ปัญหา อุปสรรคมาจากความไม่สงบในพ้ืนที่มากที่สุด นอกจากน้นั ไดแ้ก่งบประมาณสนับสนุน เวลาของสมาชิก ไม่ตรงกัน ระยะทาง และภารกิ จของผู้รับผิดชอบ ส าหรั บการปฏิบัติที่ เป็ นเลิศพบว่า กลุ่ม สถาบันการศึกษาปอเนาะ ได้แก่ วิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา อาชีพการเพาะเห็ดแครงกลุ่มโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิสลาม ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคสตูล อาชีพการปลูกผักไร้ดิน กลุ่มเยาวชนสันติสุข ได้แก่ วิทยาลัยประมงปัตตานี อาชีพการเล้ียงปลาทับทิมในกระชังกลุ่มเยาวชนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ได้แก่ วิทยาลยัเทคนิคจะนะอาชีพช่างซ่อมจกัรยานยนต์และกลุ่มเพิ่มคุณวุฒิวิชาชีพและเกียรติบัตรประชาชน เพื่อไปท างานต่างประเทศ ได้แก่ วิทยาลัยการอาชีพสุไหงโก-ลก ข้อเสนอแนะ ให้มีการสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเชื่อมโยงบุคคลหรือกลุ่มเข้าด้วยกันในระดับหมู่บ้าน ต าบล อ าเภอ จังหวัด ในอาชีพ ทอ้งถิ่นหรือผลิตภณั ฑ์กลุ่มเดียวกนั เขา้ดว้ยกนัจะทา ให้มีอา นาจการต่อรองในการจดัทา และหาช่องทาง จ าหน่ายที่ต่อเนื่องได้โดยใช้กระบวนการวิจัย/การจัดการความรู้ตลอดจนการจัดท าแผนงานโครงการและ กิจกรรมที่เป็ นการต่อยอดงานเดิมที่มีให้มีรายได้เพื่อสร้างความเข้มแข็งอย่างต่อเนื่องสู่ความยงั่ยนื ต่อไป

abstract:

0