เรื่อง: การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยตามนโยบายประเทศไทย 4.0
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว จรีพร จารุกรสกุล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคดยั ่
อ
เร
ื่อง การเพิ่
มขีดความสามารถในการแข่งขนของประเทศไทยตามนโยบาย ั
ประเทศไทย 4.0
ลกษณะว ั ชาิ การเศรษฐกิจ
ผู้
วจิยั นางสาวจรีพรจารุกรสกลุ หลกสั ูตร วปอ. รุ่นท 60 ี่
งานวิจยชั ิ้
นน้ีมีวตถั ุประสงคเพ์ ื่อศึกษาถึงปัจจยทั ี่มีผลต่อความสามารถในการแข่งขนั
ของประเทศไทยและเสนอแนะแนวทางในการเพิ่
มขีดความสามารถของประเทศตามนโยบาย
ประเทศไทย 4.0 ขอบเขตของการวิจยคั ือศึกษาผลการประเมินและปัจจยหล ั กทั ี่มีผลต่อความสามารถ
ในการแข่งขนของประเทศของเว ั ิลด์อีโคโนมิก ฟอรั่
ม (WEF) ระหว่างปี 2551-2560 วิธีดาเนํ ินการ
วิจยคั ือวิเคราะห์ลกษณะของนโยบายประเทศไทย ั 4.0 ตามแนวคิดความสามารถในการแข่งขนของ ั
WEF รวมท้งการส ั ัมภาษณ์ผูทรงค ้ ุณวุฒิผลจากการวิเคราะห์ขอม้ ูลการจดอั นดั ับของ WEF
สอดคลองก ้ ับขอม้ ูลการสัมภาษณ์ผูทรงค ้ ุณวุฒิว่ามี 8 ปัจจยหล ั กทั ี่มีผลต่อความสามารถในการ
แข่งขนของประเทศไทยค ั ือ 1. การศึกษาข้
นสั ูงและการฝึกอบรม 2. นวตกรรม ั 3. โครงสร้างพ้
ืนฐาน
4. ระดับการพัฒนาของธุรกิจ 5. สถาบัน 6. ประสิทธิภาพของตลาด 7. ประสิทธิภาพของ
ตลาดแรงงาน และ 8. การพฒนาตลาดเง ั ิน ผลการศึกษาพบว่าอุปสรรคสําคัญในการเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขนของประเทศค ั ือ 1. การพฒนาทร ั ัพยากรมนุษย์ขาดแคลนท้
งเชั ิงปริมาณ
และคุณภาพ 2. การพฒนานว ั ตกรรม ั ประสบปัญหาการนางานว ํ ิจยไปใช ั ้ในเชิงพาณิชย 3. ์ การ
ปรับปรุงกฎระเบียบภาครัฐ 4. โครงสร้างพ้
ืนฐาน ขาดการพฒนาซ ั ่ึงจาเปํ ็นต่อระบบโลจิสติกส์
5. ความต่อเนื่องของนโยบายและเสถียรภาพทางการเมือง 6. นกการเม ั ืองการใหส้ินบน และความ
โปร่งใสในการจดทั านโยบายของร ํ ัฐบาล 7. พฤติกรรมและจริยธรรมของนกธั ุรกิจ 8. การลดลงของ
ความสามารถในการแข่งขนของภาคเกษตรและอาหาร ั 9. นโยบายหรือกฎหมายที่ไม่ส่งเสริมใหเก้ ิด
การแข่งขนั 10. กฎหมายการจดซั ้
ือจดจั างและการบร ้ ิหารพสดั ุภาครัฐ พ.ศ.2560 11.การพฒนาคล ั สเตอร ั ์
12. ผลิตภาพของแรงงานไทยอย่ในระด ู บตั ่าเพราะขาดท ํ กษะการปฏ ั ิบตัิงาน 13. ความสามารถใน
การดึงดูดและรักษาบุคคลที่มีความสามารถ 14. หน่วยงานที่เกี่ยวของขาดความเข ้ าใจร ้ ูปแบบการ
ดาเนํ ินธุรกิจและวิธีการส่งเสริมธุรกิจ SME และStartup ผวู้ิจยได ั น้ าเสนอข ํ อเสนอแนะท ้ ้งหมด ั 8
ดาน้ ไดแก้ ่
1. การพฒนาทร ั ัพยากรมนุษย 2. ์ การพฒนานว ั ตกรรม ั 3. สถาบนและกฎระเบ ั ียบภาครัฐ
4. โครงสร้างพ้
ืนฐานและโลจิสติกส์ 5. การพฒนาคล ั สเตอร ั ์ 6. การส่งเสริม SME และ Startup
7. แผนการสื่อสารและการประชาสมพั นธั ์และ 8. การบูรณาการความร่วมมือของทุกภาคส่วน
abstract:
ข
ABSTRACT
Title Enhancing Thailand's Competitiveness in accordance with Thailand 4.0
Policy
Field Economics
Name Miss Jareeporn Jarukornsakul Course NDC Class 60
The objectives of this research are to examine factors influencing the
competitiveness of Thailand and suggesting ways to increase the capacity of the country
according to the Thailand 4.0 policy. The scope of research is to study the assessment and the
main factors affecting Thailand’s competitiveness of World Economic Forum (WEF) between
2008 and 2017. The methodology is to analyze the characteristics of the Thailand 4.0 policy
based on the framework of the competency enhancement of WEF, as well as interview the experts
in related fields. The result of the analysis of WEF ranking was consistent with the data from
interviews with the experts that there are 8 main factors affecting Thailand’s competitiveness :
1. Higher education and training 2. Innovation 3. Infrastructure 4. Business sophistication
5. Institutions 6. Goods market efficiency 7. Labor market efficiency and 8. Financial market
development. The study found that the major barriers to increasing the competitiveness of the
country are: 1. Human resources development, both quantitative and qualitative shortages
2. Innovation development, the problem of bringing research into commercial 3.The improvement
of government regulation. 4. Infrastructure, lacking development needed for the logistics industry
5. Political continuity and stability 6. Politicians, bribery and transparency of government
policymaking 7. Ethical behavior of firms 8. Decrease of competitiveness of agriculture and food
industry. 9. Policies or laws that do not promote the competition. 10. Implementation of the
procurement law 2017. 11. Industrial Clusters Development 12. Low productivity of Thai
workers because of lacking knowledge and specialized skills 13. Ability to attract and retain
talent and 14. Related agencies lack understanding about the business model and how to promote
SME and Startup. The research proposes the recommendations consisting of 8 areas : 1. Human
resource development 2. Innovation development 3. Institution, Laws and Procedures
4. Infrastructure and Logistics 5. Cluster development 6. Promotion of SME and Startup
7. Communication and Public Relations and 8. Integration of all sectors.