Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเตรียมพร้อมของอุตสาหกรรมและโครงสร้างพื้นฐานของโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรง (Disruptive Technology)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการศึกษา/Education
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย คงกระพัน อินทรแจ้ง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของอุตสาหกรรมพื้นฐานและโครงสร้างพื้นฐานของ โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกจากการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรง (Disruptive Technology) ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย ดร. คงกระพัน อินทรแจ้ง หลักสูตร วปอ. รุ่น 60 งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์หา Disruptive Technology ที่มี ผลกระทบอย่างรุนแรงต่ออุตสาหกรรมพื้นฐานและโครงสร้างพื้นฐานในโครงการระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor หรือ EEC) ทั้งในด้านที่เป็นภัยคุกคามและโอกาส และเสนอแนวทางในการเตรียมความพร้อม การปรับปรุงและการปรับตัว ต่อภาครัฐ ภาคเอกชนและ ภาคการศึกษา ให้สามารถจัดการกับ Disruptive Technology ได้อย่างเหมาะสม โดยมีขอบเขตการ วิจัยโดยมุ่งเน้นอุตสาหกรรมพื้นฐานและโครงสร้างพื้นฐานที่ส าคัญและมีผลต่อความส าเร็จของ EEC และมุ่งเน้น Disruptive Technology ที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่ออุตสาหกรรมพื้นฐานและ โครงสร้างพื้นฐานเหล่านั้น ทั้งนี้ในส่วนของการเสนอแนะแนวทางการเตรียมความพร้อมและการ ปรับตัว จะมุ่งเน้นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมและการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล การ วิจัยนี้ด าเนินการวิจัยโดยการเก็บข้อมูลด้วยเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกจากภาคเอกชน ภาครัฐและ ภาคการศึกษาอย่างเจาะจง การวิเคราะห์ภัยคุกคามและโอกาส ท าการตรวจสอบและวิเคราะห์เพื่อ จัดท าข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยพบว่าอุตสาหกรรมพื้นฐานที่มีความส าคัญต่อ EEC ได้แก่ อุตสาหกรรม ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี และโครงสร้างพื้นฐานที่มีความส าคัญต่อ EEC ได้แก่ ระบบสาธารณูปโภค ระบบคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์และในส่วนของ Disruptive Technology ที่มีผลต่อ อุตสาหกรรมพื้นฐานและโครงสร้างพื้นฐานที่ส าคัญ ได้แก่ Digitalization และรถยนต์ไฟฟ้า หรือ EV Car ผู้วิจัยได้สรุปข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมและการปรับตัว ส าหรับแต่ละภาคส่วนดังนี้ ภาครัฐควรปรับกระบวนการท างานให้มีความยืดหยุ่นและให้การสนับสนุน ในด้านนโยบายและโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ พร้อมทั้งเป็นตัวกลางในการสร้างความร่วมมือของทุกภาค ส่วน ในส่วนภาคเอกชนควรน าเทคโนโลยีเข้ามาปรับใช้ให้เหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ ความสามารถในการแข่งขัน และภาคการศึกษาควรทบทวนหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้อง กับความต้องการแรงงานของภาคเอกชน ทั้งนี้พื้นฐานที่ส าคัญที่สุดซึ่งจะท าให้ทุกภาคส่วนสามารถ ปรับตัวเข้ากับ Disruptive Technology ได้คือ ทุกองค์กรต้องปรับเปลี่ยน Mindset ของบุคลากร และวัฒนธรรมขององค์กร ให้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงและพร้อมที่จะปรับตัวได้อย่างรวดเร็วและเกิด ประโยชน์สูงสุด โดยหากทั้ง 3 ภาคส่วน สามารถด าเนินการตามข้อเสนอแนะได้อย่างเป็นรูปธรรม และร่วมมือกันเตรียมความพร้อม จะท าให้โครงการ EEC ประสบความส าเร็จและประเทศไทยบรรลุ เป้าหมายเป็นประเทศพัฒนาแล้วและหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางได้อย่างยั่งยืน

abstract:

Abstract Title Preparation of basic industries and basic infrastructures in Eastern Economic Corridor (EEC) in response to Disruptive Technology Field Science and Technology Name Kongkrapan Intarajang, Ph.D Course NDC Class 60 The research of “Preparation of basic industries and basic infrastructures in Eastern Economic Corridor (EEC) in response to Disruptive Technology” aims to find out disruptive technologies that create significant impact to the basic industries and basic infrastructures of EEC in aspects of threats and opportunities and then provide set of suggestions for them as a proxy of private sector, government sector that influences the policy, and academic sector that provides competent and skilled people. Suggestions from the research is focused on the application of technology and innovation and development of human resources. The methodologies of this research are (a) study document (b) interview focus group in private sector, government sector and academic sector (c) analyze threats and opportunities (d) then, analyze and propose the recommendations. This research found that the basic industries that influence the success of EEC is Petroleum and Petrochemical while utilities, transportations and logistics are the key infrastructures. The disruptive technologies that significantly impact to these industries and infrastructures are Digitalization and Electric Vehicle or EV Car. In response to disruptive technologies, the government should be more flexible in the process and act as enablers for policy and the fundamental infrastructure support as well as build collaboration platform for private sector, government sector and academic sector. For the private sector, digitalization and automation should be applied to improve the efficiency and competitiveness. In the academic point of view, the program should be adapted to ensure the workers can satisfy the demand and desired new skills required by the private sector. To get the benefit from disruptive technologies, changing Mindset of people and organization culture to be agile to rapid change is a key success factor. If all sectors are well collaborated among each other and apply suggestions effectively, EEC development will be accomplished and Thailand will sustainably achieve its goals to become developed country and get out of the middle income trap.