Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ภาคการเงิน กับบทบาทในการสนับสนุน Fin Tech Startups เติบโตอย่างยั่งยืน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว ขัตติยา อินทรวิชัย
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางและบทบาทของภาครัฐและภาคการเงินในการสนับสนุน FinTechStartups ให้เติบโตอย่างยั่งยืน ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นางสาว ขัตติยา อินทรวิชัย หลักสูตร วปอ.รุ่นที่ 60 ด้วยเทคโนโลยีทางการเงิน (FinTech) และวิสาหกิจเริ่มต้นในภาคการเงิน (FinTech Startups) ทยอยมีบทบาทเพิ่มขึ้นต่ออุตสาหกรรมทางการเงินและเศรษฐกิจไทย ดังนั้น งานวิจัยนี้จึง ถูกจัดท าขึ้นภายใต้วัตถุประสงค์ 3 ด้าน ประการแรก คือ เพื่อศึกษาสถานะปัจจุบันของ FinTech Startups ไทย และมาตรการของภาคส่วนต่างๆ ซึ่งพบว่า FinTech Startups ส่วนมากยังอยู่ในช่วงเริ่ม ก่อตั้งธุรกิจ และมักอยู่ในสาขาบริการด้านการช าระเงิน อย่างไรก็ดี จ านวนผู้ประกอบการที่ประสบ ความส าเร็จเชิงธุรกิจยังคงมีจ ากัด แม้ว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ออกมาตรการ ทางการเงินและไม่ใช่การเงินเพื่อสนับสนุนการเติบโตตลอดช่วงหลายปีที่ผ่านมา ข้อสังเกตดังกล่าว น าไปสู่การศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อถัดมา คือ เพื่อวิเคราะห์ปัญหา อันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา FinTech Startups ในประเทศ ซึ่งจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 11 คน และสอบถามผู้ประกอบการ 21 คน ผู้วิจัยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคที่ FinTech Startups ไทยเผชิญ มีความคล้ายคลึงกับปัญหาของ FinTech Startups ในต่างประเทศ แต่มีความซับซ้อนกว่ามาก โดย ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานและด้านกฎหมายของไทย เป็นอุปสรรคที่ส าคัญที่สุดในการด าเนิน ธุรกิจ รองมา คือ ปัญหาด้านทรัพยากรบุคคล ด้านตลาด ด้านเงินทุน และด้านการแข่งขัน ตามล าดับ ผลการศึกษาดังกล่าวน าไปสู่ข้อเสนอแนะแนวทางและบทบาทของภาครัฐและภาค การเงินในการสนับสนุน FinTech Startups ให้เติบโตอย่างยั่งยืนใน 3 ด้าน โดยในด้านนโยบายควร เริ่มจากการก าหนดให้นโยบายการพัฒนา Startups และ FinTech Startups มีความส าคัญ เชิงยุทธศาสตร์ระดับประเทศ ยกระดับองค์กร/คณะกรรมการกลางเพื่อรับผิดชอบงานเป็นการเฉพาะ และเพื่อลดความซ้ าซ้อนของการใช้ทรัพยากร ขณะที่ ด้านปฏิบัติการ ควรมุ่งเน้นปรับปรุงประเด็น เชิงกระบวนการ อาทิ วางระเบียบและกฎเกณฑ์ที่จ าเป็น เพิ่มประสิทธิภาพของศูนย์ทดสอบ นวัตกรรม และมีการรวมศูนย์ One-Stop Service ระหว่างหน่วยงาน และด้านสุดท้าย คือ ด้าน วิชาการซึ่งควรมุ่งเน้นไปที่การเร่งเพิ่มทักษะที่จ าเป็นเพื่อช่วยเสริมสร้างบุคลากรที่มีศักยภาพเข้าสู่ ตลาดแรงงาน ตลอดจนการเร่งบ่มเพาะองค์ความรู้เพื่อสร้างความพร้อมให้กับผู้ประกอบการ และ เพิ่มความรู้ความเข้าใจของผู้บริโภคไทยให้มีความคุ้นชินกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเงิน

abstract:

ABSTRACT Title Guidelines and Roles of the Public and Financial Sectors in Promoting Sustainable Growth of FinTech Startups Field Economics Name Ms. Kattiya Indaravijaya Course: NDC Class 60 Financial technology (FinTech) and business startups in the field of financial technology (FinTech Startups) have played an increasing role in Thailand’s financial industry and overall economy. This research paper has been prepared to meet three objectives. Firstly, the paper features a study of the current status of Thai FinTech Startups. Most FinTech Startups have been found to be in the early stage of business formation and mainly in the area of payment service provision. In addition, there are a limited number of successful operators although various support measures have been released by public and private entities over the past many years. This finding has led to another study based on the second objective, i.e. to analyze the hurdles of FinTech Startup development in Thailand. After conducting interviews of 11 specialists and 21 entrepreneurs, the research finds that the obstacles faced by Thai FinTech Startups are quite similar to those encountered by foreign Startups, but with considerably more complexities. The most significant impediment is involved with infrastructure and laws of Thailand, followed by problems of talents, market, fundingand competition, in that order. Based on the results, the three aspects of guidelines and roles of the public and financial sectors in promoting sustainable growth of FinTech Startups are proposed in this study. The first aspect is the policy stance, which is expected to incorporate the development of Startups and FinTech Startups in the national agenda, including an establishment of central agency and committee to be specifically assigned for this task and to ensure efficient use of resources. Secondly, as concerns the operational aspect, the development of processes should be emphasized, for example, adoption of necessary rules and regulations, efficiency enhancement of sandbox and creation of one-stop service centers. Thirdly, with regard to the technical aspect, necessary skills enhancement in all educational levels is crucial for creation of talents, and Thai startups should be equipped with essential entrepreneurial skills, while knowledge development for consumers is also needed to prepare them for the era of new financial technologies and innovations.