เรื่อง: แนวทางการพัฒนาหลักสูตรข่าวกรองทางยุทธศาสตร์ของกองบัญชาการกองทัพไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ภาณุศิลป์ กลั่นเสนาะ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง แนวทางการพัฒนาหลักสูตรข่าวกรองทางยุทธศาสตร์ของกองบัญชาการ
กองทัพไทย
ลักษณะวิชา การทหาร
ผ้วิจัย ู พลตรี ภาณุศิลป์ กลันเสนาะ # หลักสูตร วปอ. รุ่นที# ๕๖
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื#อศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนรวมถึงการประเมิน
หลักสูตรข่าวกรองทางยุทธศาสตร์ โดยใช้วิธีการประเมินผลรูปแบบ ซิพพ์โมเดล (CIPP. Model) ทั@งด้าน
สภาพแวดล้อม (Context Evaluation) ด้านปัจจัยนําเข้า (Input Evaluation) ด้านกระบวนการ (Process
Evaluation) และด้านการผลิต (Product Evaluation) และเพื#อเสนอแนวทางการพัฒนาหลักสูตรข่าวกรอง
ทางยุทธศาสตร์ ของกองบัญชาการกองทัพไทย ขอบเขตของการวิจัย ผู้วิจัยนําการประเมินตาม
รูปแบบ CIPP Model ของ Daniel L. Stuflebeam ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอยาง ได้แก ่ ่
ผู้สําเร็จการศึกษา โรงเรียนรักษาความปลอดภัย หลักสูตรข่าวกรองทางยุทธศาสตร์ และนายทหาร
นักเรียนที#กาลังศึกษาหลักสูตรข ํ ่าวกรองทางยุทธศาสตร์ รุ่นที# ๔๕ รุ่นที# ๔๖ และรุ่น ๔๗ จํานวน
๘๖ คน วิธีดําเนินการวิจัยในครั@งนี@ ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยครั@งนี@เป็ นการวิจัยเชิงปริ มาณ
(Quantitative Research) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี# และคํานวณค่าร้อยละ
ค่าเฉลี#ย และส่วนเบี#ยงเบนมาตรฐาน t-test และ F-test ทดสอบเป็ นรายคู่ด้วยวิธีของ LSD ผลการวิจัย
พบวา ข้อมูลส ่ ่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม พบวา ส่ ่วนใหญ่เป็ นเพศชาย มีอายุ มากกว่า ๔๕ ปี
ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประสบการณ์ มากกวา ๑๕ ปี ความคิดเห็นเก ่ ี#
ยวกบหลักสูตรข ั ่าวกรอง
ยุทธศาสตร์ พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื#อพิจารณาในรายทุกด้านอยู่ในระดับมาก
เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี#
ยวกบหลักสูตรข ั ่าวกรองยุทธศาสตร์ พบว่า เพศ อายุ วุฒิการศึกษา และ
ประสบการณ์ในการทํางานที#ต่างกน มีความคิดเห็นเก ั ี#
ยวกบหลักสูตรข ั ่าวกรองยุทธศาสตร์ไม่
แตกต่างกน ข้อเสนอแนะจากการวิจัยต้องมีการพัฒนาโครงสร้างของหล ั ักสูตรและเนื@อหาสาระของ
หลักสูตรเน้นการคิดวิเคราะห์และการประมาณการณ์ คัดเลือกผู้เรียน จํานวนผู้ประสานงาน มีความ
สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรี ยนที#ประสงค์จะเข้ารับการศึกษาต่อจํานวนที#นั#งศึกษาตาม
หลักสูตร ปรับปรุงการแจ้งผลการประเมินและระยะเวลาการศึกษาให้ทราบอยางรวดเร็ว ด้วยระบบ ่
อิเล็กทรอนิกส์บริการ เมื#อนักเรียนจบการศึกษาต้องสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ด้านการข่าวกรอง
การแกปัญหาทางทหาร ให้คําแนะนํา ทางยุทธศาสตร์ในด้านการข ้ ่าวกรองในทุกระดับ
abstract:
ABSTRACT
Title Curriculum Development Approaches for Strategic Intelligence Course
Field Military
Name Maj.Gen.Panusilp Klansnoh Course NDC Class 56
The objectives of this research are to study the current curriculum and evaluate the
Strategic Intelligence Course using CIPP model to explore context, input, process and product of
the course in order to suggest curriculum development proposal to the Royal Thai Armed Forces.
Based on Daniel L. Stuflebeam‘s CIPP model, the 86 sampling data has been collected from
officers who graduated from Strategic Intelligence Course class 45 -47 using questionnaires. The
quantitative research approach with correlation analysis of independent sample T-Test and F-Test
were applied to identify the significant mean difference between men and women officers. Even
though, the most sampling population is men, over 45 year of age, graduated in bachelor degree
and with 15 years working experience, there is no significant mean on their attitude over the
Strategic Intelligence Course based on their gender, age, education and experience.
The research paper has given development approach to restructure curriculum and
content adjustment to focus on strategic analysis and estimated forecast, including selection of
students attending the class. Moreover, the technology is needed to be applied for services to
students such as evaluation and result announcement. With the new curriculum, accomplish
students would be able to analyze the situation based on information and intelligence and to
present alternative military solutions to all level of authorizations.