Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การใช้สนามบินอู่ตะเภาในเชิงพาณิชย์ต่อความมั่นคงเพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี กฤชพล เรียงเล็กจำนง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การใช้สนามบินอู่ตะเภาในด้านความมั่นคงและเชิงพาณิชย์ ภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ๒๐ ปี ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย พลเรือตรี กฤชพล เรียงเล็กจ านงค์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐ โครงการพัฒนาสนามบินอู่ตะเภาให้เป็นสนามบินพาณิชย์นานาชาติระดับสากล แห่งที่ ๓ ก าเนิดขึ้นจากนโยบายของรัฐบาล ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานรองรับด้านการ คมนาคมขนส่งทางอากาศของประเทศ ขับเคลื่อนโดยใช้แผนพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาค ตะวันออก (Eastern Economic Corridor, EEC) ที่ก าหนดให้สนามบินอู่ตะเภาเป็นเมือง แห่งอุตสาหกรรมการบินในอนาคต ส่งเสริมการลงทุนด้านอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เทคโนโลยีสะอาด ควบคู่กับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ส าหรับการต่อยอดไปสู่การสร้างเทคโนโลยีแห่งอนาคตของประเทศ เพื่อเป้าหมายให้ประเทศ ไทยหลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางในปัจจุบันเป็นประเทศรายได้สูง ด้วยเหตุที่ สนามบินอู่ตะเภาเป็นสนามบินที่กองทัพเรือได้รับมอบจากรัฐบาล เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๙ เพื่อใช้ ในภารกิจด้านความมั่นคงเป็นหลัก เมื่อมีการปรับมาใช้ประโยชน์ร่วมกันในเชิงพาณิชย์ตาม มาตรฐานสากล จึงท าให้มีความแตกต่างในการใช้งานกับทางทหารหลายประการ ท าให้ เกิดผลกระทบหรืออาจเกิดการละเมิดทางการปฏิบัติต่อกัน ในอนาคตอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผลการวิจัยพบว่า โอกาสที่จะเกิดปัญหาในการปฏิบัติระหว่าง การปฏิบัติภารกิจทางการทหารด้านความมั่นคง กับผู้ให้และใช้บริการด้านการบินพลเรือน ที่ทั้งสองส่วนมีความจ าเป็นต้องใช้ประโยชน์ โครงสร้างพื้นฐานด้านการบินร่วมกันเช่น ทางวิ่ง ทางขับ ลานจอดอากาศยาน ห้วงอากาศ และการควบคุมการจราจรทางอากาศ เป็นต้น ข้อจ ากัดส าคัญที่พบคือการขาดความชัดเจน ในการปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัยในการด าเนินงานร่วมกัน จ าเป็นต้องเพิ่ม ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรด้านการบินให้มีรูปแบบมาตรฐานการปฏิบัติตามมาตรฐาน ที่องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) ก าหนด โดยพบว่ามีปัญหาข้อจ ากัดและ แนวทางในการแก้ไข ดังนี้ในด้านการใช้ประโยชน์พื้นที่ร่วมกันจะเกิดผลกระทบต่อกรณีมี ภารกิจพื้นที่ทับซ้อนกับพื้นที่ทางทหาร ควรแบ่งพื้นที่ก่อสร้างอาคารพักผู้โดยสารแห่งที่ ๓ และโครงสร้างพื้นฐานที่ชัดเจน และอยู่นอกเขตพื้นที่ปฏิบัติการทางทหารที่ใช้ประโยชน์ใน ปัจจุบัน ในด้านการบริหารงานและการด าเนินการ เช่นการปฏิบัติในสถานการณ์เร่งด่วน ด้านความมั่นคง การรักษาความปลอดภัย และการช่วยเหลืออากาศยานและโดยสาร ในกรณี ฉุกเฉินต่าง ๆ ต้องมีการจัดท าข้อตกลงร่วมที่ชัดเจน ในด้านการพัฒนาการใช้ห้วงอากาศ และการบริการการจราจรทางอากาศรองรับความแออัดของปริมาณอากาศยานที่ใช้ข ห้วงอากาศในอนาคต ควรมีการพัฒนาการใช้ห้วงอากาศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพแบบไร้ รอยต่อ นอกจากนี้ในด้านงบประมาณในการดูแลกลุ่มโครงสร้างพื้นฐานสนามบิน และระบบ เครื่องช่วยเดินอากาศ ต้องมีความชัดเจนเชิงนโยบาย และการก าหนดแผนงานไว้ในแผน งบประมาณประจ าปี ส าหรับในด้านโครงสร้างก าลังพลจ าเป็นต้องมีการวางแผนระยะยาว เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่และประเด็นส าคัญคือ กองทัพเรือต้องมีแนวทางชัดเจน ในการวางโครงสร้างการบริหารจัดการ การสร้างบุคลากรอย่างเป็นระบบ และมีความเป็นนัก บริหารมืออาชีพไม่เป็นข้อจ ากัดของกองทัพเรือในการบริหารจัดการทั้งด้านเชิงพาณิชย์ และภารกิจด้านความมั่นคงในอนาคต สามารถสนองต่อนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปีได้อย่างสมบูรณ์

abstract:

ABSTRACT Title The development of U-Tapao international airport into public security and commercial purposes under 20 years national strategy. Field Economics Name RADM. Kitchpol Rienglekjamnong Course NDC. Class 60 The development of U-Tapao international airport project into the third commercial airport serving the capital city has been planned under the government policy.This massive re-development of U-Tapao has been driven by Eastern Economic Corridor (EEC) to be an aviation hub and a bright future of aviation industry that support entirely new technology and clean energy investments alongside the development of innovation infrastructures. The goal is to free Thailand from the trap of developing to developed country gaining to high average income. Since 1966, U-Tapao airport was assigned by the government letting the airport fully controlled by The Royal Thai Navy mainly for the public security purposes. It is unavoidable that changing of use from military missions to be mixed with the standard commercial airport may lead the operational conflicts in the future. This qualitative research found the probability of conflict and problems in practice during military operations and civil aviation services when using facilities at the same times such as run ways, taxi ways and hangars, air traffic control, period of operation, etc. The major limitation was significantly revealed that the lack of clarity in compliance with the standard common operational aviation safety. It is necessary to optimize the use of aviation resources to standardize practices, according to the standards set by the International Civil Aviation Organization (ICAO). There are problems, constraints and solutions listed as follow; the use of shared space will affect in case of overlapping area used by military. The third passenger terminal building and infrastructure should be clearly divided outside the current military operations area. In management and operations, for example, emergency situations of public security, aircraft and passengers assistance, a clear co￾ordinated agreement is required. In terms of using airspace development and air traffic control services for future airspace congestion, should be developed the use of airspace to enhance an efficiency far beyond of transition. In addition, the budget for airport infrastructure and aeronautical systems, policy must be clear. The plan is set annually. For the personal structure needs a long-term planning in order to support a significant change. An important issue is the Navy must have clear guidelines to lay out the structure of management equipped with professional staff training system, and be an executive manager that no limit to manage on both commercial and security tasks in the future. This would be fully meet government policy and 20 years national strategies.