เรื่อง: การพัฒนารูปแบบศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของกองบัญชาการกองทัพไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ราเมศร์ สันติบุตร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนารูปแบบศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของกองบัญชาการกองทัพไทย
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย พล.ต. ราเมศร์ สันติบุตร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ๑.วิเคราะห์รูปแบบศูนย์การเรียนรู้ฯ๒.ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลท าให้
ศูนย์การเรียนรู้ฯ ประสบความส าเร็จ ๓.ศึกษาระดับการด าเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ฯ และ ๔. เพื่อเสนอ
รูปแบบศูนย์การเรียนรู้ฯใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Quanlitative research) เป็นหลัก ประชากร คือศูนย์การเรียนรู้
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พื้นที่ สนภ. ๑, ๒, ๓, ๔ และ ๕ นทพ. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
กลุ่มตัวอย่าง จ านวน ๑๐ ศูนย์การเรียนรู้ฯ พื้นที่ละ ๒ ศูนย์การเรียนรู้ฯ ใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง (sampling) ใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (semi-structure
interview) เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล โดยท าการสัมภาษณ์แบบพบกันโดยตรง (face- to-face
interview) และจากการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Paticipant Observation) ผลการศึกษาการวิเคราะห์
รูปแบบศูนย์การเรียนรู้ฯ พบว่า มีขนาดพื้นที่ด าเนินกิจกรรม ระหว่าง ๗-๑๕ ไร่ (ร้อยละ ๔๐) ทั้งหมด
ด าเนินกิจกรรมแบบเกษตรผสมผสาน (ร้อยละ ๑๐๐) รองลงมาด าเนินกิจกรรมแบบเกษตรทฤษฎีใหม่
(ร้อยละ ๗๐) ปัญหาและอุปสรรคที่ส าคัญ พบว่า เป็นปัญหาปัจจัยทางกายภาพ ได้แก่ ปัญหาดินขาด
ความอุดมสมบูรณ์ (ร้อยละ ๒๐) และปัญหาแหล่งที่ตั้งห่างไกลจากแหล่งน้ า (ร้อยละ ๑๐) ปัจจัยที่ส่งผลให้
ศูนย์การเรียนรู้ฯ ประสบความส าเร็จนั้น พบว่า ปัจจัยในทุกด้านต้องเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ทั้งปัจจัยทาง
กายภาพ ได้แก่ มีการคมนาคมที่สะดวก (ร้อยละ ๑๐๐) ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ มีพันธุ์พืชและสัตว์ที่ดี
ต้านทานโรคและแมลง (ร้อยละ ๑๐๐) ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ได้รับสนับสนุนงบประมาณอยู่เสมอ
มีเงินทุนหมุนเวียน มีการท าบัญชีครัวเรือน และมีตลาดส าหรับจ าหน่ายผลผลิต(ร้อยละ ๑๐๐) ปัจจัยทาง
สังคม ได้แก่ มีเจ้าหน้าที่มีประสบการณ์สูง มีสื่อประชาสัมพันธ์ที่ดีและมีผู้สนใจเข้าเยี่ยมชมอยู่เสมอ
เท่ากัน (ร้อยละ ๑๐๐) การศึกษาระดับการด าเนินงานใน ๓๖ ประเด็น พบว่า ภาพรวมแล้วศูนย์การเรียนรู้ฯ
มีการด าเนินงานในระดับดีมากแต่ยังมีการด าเนินงานในระดับพอใช้ในหลายประเด็น คือการเลี้ยงเป็ดเนื้อ
เป็ดไข่ ( = ๒.๕๐)การปลูกพืชไร่เช่น ข้าว ข้าวโพด อ้อย ( = ๒.๔๐)การเพาะเห็ด ( = ๒.๓๐) และ
การเลี้ยงกบ ( = ๒.๒๐) ตามล าดับ ดังนั้นหน่วยงานภาครัฐควรเข้ามาส่งเสริมและให้ความรู้เกี่ยวกับ
การตรวจวิเคราะห์สภาพดิน คุณภาพของดิน และวิธีการปรับปรุงบ ารุงดิน เนื่องจากศูนย์การเรียนรู้ฯ
มีปัญหาดินขาดความอุดมสมบูรณ์ (ร้อยละ ๒๐) และควรเข้ามาส่งเสริมและสนับสนุนการน าน้ าใต้ดิน
มาใช้ประโยชน์อย่างประหยัด การส่งเสริมการน าระบบชลประทานเข้ามายังพื้นที่ การให้ความรู้
เกี่ยวกับการกักเก็บน้ า หรือการปลูกพืชโดยวิธีประหยัดน้ า เป็นต้น เนื่องจากมีปัญหาแหล่งที่ตั้ง
ห่างไกลจากแหล่งน้ า (ร้อยละ ๑๐)การเสนอรูปแบบศูนย์เรียนรู้ฯ ได้จากการสังเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
เชิงคุณภาพ และประยุกต์ใช้หลัก พอประมาณ มีเหตุผล มีคุ้มกันในตัวที่ดีประกอบกับ เงื่อนไขความรู้
x x x
xข
คู่คุณธรรม ของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท าให้ได้ข้อมูลที่สามารถน ามาสังเคราะห์ได้เป็น
“ต้นแบบ” (Model) เพื่อพัฒนารูปแบบศูนย์การเรียนรู้ฯ ต่อไป
abstract:
Abstract
Title Development model for the Philosophy of Sufficiency Economy
Learning Center under Royal Thai Armed Forces Headquarters
Field Social - Psychology
Name Maj Gen. Ramate Santibutr Course NCD Class 60
This study aimed to examine the model of the Philosophy Sufficiency
Economy Learning Center under Royal Thai Armed Forces Headquarters, factors
lead to achievement goal, level of center operation, and presenting the model of
Sufficiency Economy Philosophy learning centers. A qualitative methodological
approach was implemented in the study in the 1st 2
nd 3
rd 4
th and 5th Regional
Development Office. The population of the study consisted of 60 learning center in
Armed Forces Development Command under Royal Thai Armed Forces
Headquarters in year 2018.
A semi-structure interview and participant observation was
implemented for data collection in order to collect data from 10 sample learning
centers. The research result indicated that in the average income was 63,365 baht per
year. The average number of visitors was 3,632.7 people. The main obstacles of
center operation are two factors which are physical and social factor problem.
Physical factor problem was found that soil is lacking (20 percent), and learning
center is far from water sources (10 percent). For social factor problem was the target
visitor ignorance (10 percent). All physical, biological economics and social factors can
lead the learning center to successful. The result of level of center operation in 36
issues demonstrate that the overall operation is in excellent level. However the center
still have average level in many issues. The average evaluation issues should be
improved to suit with people demand. The activity demanding are meat duck and egg
duck, Crops demanding rice, corn, sugarcane, mushroom production and frog
farming which averages at 2.50 2.40 2.30 and 2.20 respectively.
The study result suggested that the relevant agencies should give knowledge
and support of doing house accounting, planning and marketing. For soil problem should
check and analyze soil condition, soil quality and soil improvement. Lack of water
problem should use groundwater with awareness for most benefits and support an
irrigation in the areas. After data analyzed by qualitative research, quantitative research and
participant observation and applied the middle path moderation, reasonableness,
self-immunity carried out with two conditions knowledge and virtue of The Philosophy of Sufficiency Economy. The analyzed data can refer for setting up a
models to develop the Philosophy of Sufficiency Economy learning center further
in the future.