เรื่อง: เวียดนามกับความร่วมมือของกลุ่มประเทศในอนุภูมิภาคแม่น้ำโขง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, Col. Huynh Thien Nhon
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง เวียดนามกับความร่วมมือของกลุ่มประเทศในอนุภูมิภาคแม่น ้าโขง
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย Col. Huynh Thien Nhon หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙
กลุ่มประเทศลุ่มน ้าโขงที่มีกระแสน ้าไหลผ่านอาณาเขตของ ๖ ประเทศคือ จีน เมียนมา
ลาว ไทย กัมพูชาและเวียดนาม ในระยะเวลาหลายศตวรรษที่ผ่านมาประเทศต่างๆ เหล่านี ได้
ด้าเนินการแสวงหาทรัพยากรบริเวณนี เพียงอย่างเดียว ส่งผลกระทบกระเทือนอย่างร้ายแรงส้าหรับ
สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์ของกระแสแม่น ้า การสูญเสียมันจะส่งผลกระทบเป็นอย่างไรต่อประเทศอื่นๆ
ที่อยู่ตอนปลายสายแม่น ้าโขง โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเวียดนาม แหล่งน ้าที่มีจากแม่น ้าโขงและ
ปัญหาที่น่าสนใจว่า ประเทศเวียดนามในฐานะที่ตั งอยู่ตอนปลายที่สุดของแม่น ้าโขง ด้วยเหตูผล
การบุกเบิกที่ไม่มีการควบคุมอย่างเต็มที่จากประเทศต่างๆ ที่อยู่ต้นแม่น ้าโขง อาจจะกล่าวได้ว่าส่งผล
กระทบอย่างรุนแรงและเลวร้ายอย่างคาดไม่ถึง เนื่องจากผลประโยชน์และผลเสียหายเหล่านั น ผู้วิจัย
จึงสนใจศึกษาปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับความร่วมมือบุกเบิกแม่น ้าโขงและกลไกความร่วมมือ แนวนโยบาย
ของประเทศต่างๆ มีบทบาทส้าหรับการร่วมมือบุกเบิกแม่น ้าโขง พร้อมเสนอมาตรการการปรับปรุง
กลไกความร่วมมือบุกเบิกแม่น ้าโขงระหว่างเวียดนามกับอนุภูมิภาคลุ่มแม่น ้าโขง โดยผู้วิจัยมุ่งเพียงวิจัย
เกี่ยวกับความร่วมมือบุกเบิกทรัพยากรน ้าจากแม่น ้าโขงเท่านั น ตามหลักฐานข้อกฎหมายที่กลุ่ม
ประเทศในอนุภูมิภาคแม่น ้าโขงได้ร่วมลงนาม อีกประการหนึ่งก็คือ การประเมินผลที่มีสิทธิภาพต่อ
ผลกระทบของกระบวนการความร่วมมือบุกเบิกส้าหรับเวียดนาม ซึ่งอาศัยแนวนโยบายของรัฐบาล
เวียดนามทางการทูตในการร่วมมือกับกลุ่มประเทศแห่งประชาคมอาเซียน ทั งนี ประเทศต่างๆ
ในคณะกรรมธิการแม่น ้าโขงจ้าเป็นต้องด้าเนินการศึกษาวิจัยอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับผลกระทบส้าหรับ
ประเทศในลุ่มแม่น ้าจากระบบชั นบันใดไฟฟ้าใช้พลังน ้าในกระแสน ้าหลักที่ได้วางแผน เพื่อหลีกเลี่ยง
จากผลกระทบในภายหลัง อาจจะขอร้องผู้ประกอบการนานาชาติร่วมมือสนับสนุนประเทศลาวและ
ประเทศกัมพูชาจัดท้าโครงการต่างๆ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยต้องยอมรับว่าแม่น ้าโขง
เป็นแม่น ้านานาชาติการบุกเบิกทรัพยากรน ้าของประเทศใดในกลุ่มประเทศแม่น ้าโขงต้องมีความ
รับผิดชอบส้าหรับการเปลี่ยนแปลงในทั งลุ่มแม่น ้า
abstract:
Abstracts
Title Vietnam and the Cooperation in Greater Mekong Subregion (GMS)
Field Strategy
Name Col. Huynh Thien Nhon Course NDC Class 59
Mekong river runs through six countries as follow: Burma, Cambodia,
China, Laos, Thailand and Vietnam. Over the past century, these countries have been
relying heavily on its natural resources. This may have been caused the
environmental substances badly damage. It has become a massive problem for
countries that locate at the end of the river especially for Vietnam. This also can be
very harmful for the people living by the river. Therefore, I am interested in assessing
the situation, the cooperation, and the International policies regarding Mekong river. I
then would like to propose a solution for better cooperation between Vietnam and
GMS. First, I shall evaluate the impact of the cooperation upon Vietnam. This may
depend on Vietnam’s diplomatic policy. I with neighboring ASEAN countries. This
study may encourage the countries in GMS to be aware for any possible negative
impacts from the agreed Mainstream hydroelectric ladder system. Mekong is an
international river, any damages from over used water and other natural resources is
a shared responsibility for all countries in Mekong region.