Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาศักยภาพจุดผ่อนปรนการค้าชายแดนเพื่อรองรับการค้าชายแดนระหว่างประเทศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เอนก มีมงคล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย อ บทคัดย อ เรื่อง แนวทางการพัฒนาศักยภาพจุดผ อนปรนการคาชายแดนเ เรื่อง พื่อรองรับการคาชายแดน ระหว างประเทศ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ลักษณะวิชา ผูวิจัย นายเอนก มีมงคล หลักสูตร ผูวิจัย หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุ นที่ รุ นที่ รุ นที่ 59 ประเทศไทยมีช องทางการคากับประเทศเพื่อนบาน ทั้งที่เป/นจุดผ านแดนถาวร 39 แห ง และที่มีสถานะเป/นจุดผ อนปรนการคาชายแดนอีก 52 แห ง โดยช องทางการคาดังกล าวมีบทบาทเป/น ประตู (Gateway) ของประเทศไทย จากการที่ประเทศไทยเป/นฐานเศรษฐกิจหลักของภูมิภาค และ นโยบายการพัฒนาและส งเสริมการคาชายแดนกับประเทศเพื่อนบานโดยเฉพาะกลุ มประเทศ CLMV ภายใตกรอบความร วมมืออนุภูมิภาคต างๆ เช น GMS ACMECS เป/นตน ทําใหในอนาคตจุดผ อนปรน การคาชายแดนหลายแห งจะมีบทบาทสําคัญต อการส งเสริมการคาชายแดน เอกสารวิจัยฉบับนี้เป/นการศึกษาและประเมินศักยภาพ รวมถึงกําหนดปJจจัยสนับสนุน และ จัดทําแนวทางการพัฒนาจุดผ อนปรนการคาชายแดนที่มีศักยภาพและมีความสําคัญต อการคาชายแดน เพื่อยกระดับใหเป/นจุดผ านแดนถาวร ซึ่งจากการศึกษาพบว า ปJจจัยที่กําหนดศักยภาพและบทบาท จุดผ อนปรนการคาชายแดน ไดแก เป/นพื้นที่ที่ไม มีปJญหาดานความมั่นคง เป/นจุดที่มีปริมาณการคาและ การเดินทางขามแดนเพิ่มขึ้นอย างต อเนื่อง เป/นพื้นที่ทั้งของประเทศไทยและประเทศเพื่อนบานที่มี ศักยภาพในการลงทุนและเชื่อมโยงกับเมืองหรือแหล งท องเที่ยวสําคัญ สภาพทางภูมิศาสตรLและกายภาพ เอื้ออํานวยต อการขนส งและเดินทางขามแดน เป/นชุมชนและเมืองชายแดนรองรับการพัฒนาระหว าง ประเทศ รวมทั้งมีพื้นที่รองรับการพัฒนาเพียงพอและมีความแน นอนของนโยบายของไทยและประเทศ เพื่อนบาน ซึ่งพบว ามีจุดผ อนปรนการคาที่มีบทบาทสําคัญต อการคาชายแดนรวม 4 แห ง ประกอบดวย (1) บานฮวก ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา (2) ช องสายตะกู ตําบลจันทบเพชร อําเภอบานกรวด จังหวัดบุรีรัมยL (3) บานเขาดิน ตําบลคลองหาด อําเภอคลองหาด จังหวัดสระแกว และ (4) บานมะม วง ตําบลนนทรี อําเภอบ อไร จังหวัดตราด รวมทั้งนําเสนอแนวทางการพัฒนาจุดผ อนปรนการคาเพื่อพัฒนา ใหเป/นจุดผ านแดนถาวรแห งใหม ของประเทศ ประกอบดวย (1) การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานและสิ่ง อํานวยความสะดวก โดยจัดหาที่ดินใหเพียงพอและปรับปรุงระบบใหบริการพิธีการผ านแดนใหได มาตรฐาน (2) จัดระเบียบการใชพื้นที่บริเวณชายแดน (3) พัฒนาชุมชนและเมืองชายแดน รวมถึงพื้นที่ เศรษฐกิจใกลเคียงโดยจัดทําผังเมือง พัฒนาพื้นที่บริเวณชายแดนใหเป/นชุมชนน าอยู พัฒนาเมือง ศูนยLกลางเศรษฐกิจและแหล งท องเที่ยวสําคัญ พัฒนาเสนทางเชื่อมโยงจุดผ อนปรนการคากับพื้นที่เมือง พัฒนาและส งเสริมระบบโลจิสติกสLบริเวณชายแดน นอกจากนี้ไดใหขอเสนอแนะเพื่อเตรียมการพัฒนาในระยะยาว ประกอบดวย การจัดทํา ขอมูล การศึกษาเพื่อกําหนดจํานวนและสถานที่จุดผ านแดนที่เหมาะสมของประเทศไทย และสนับสนุน การทํางานพัฒนาจุดผ อนปรนการคาชายแดนแบบบูรณาการโดยส งเสริมการมีส วนร วมจาก ทุกฝRายที่เกี่ยวของทั้งภาคราชการ ทองถิ่นและภาคเอกชน

abstract:

Abstract Abstract Title The Guidelines for checkpoints for border trade Development to Support Thailand’s border trade. FieldEconomics Name Mr. Anek Meemongkol Course NDC Class 59 Thailand has 91 official border trade points, consists of 39 permanent border checkpoints and 52 checkpoints for border trade. In the future, checkpoints for border trade will play an important role in border trade in terms of trade volume and human flows. This research aims to present a guideline for setting up the criteria to evaluate high potential checkpoints for border trade that should have been developed as new permanent border checkpoints. This research shows that there are 4 important checkpoints for border trade, including, Banhuak Prayao Province Chongsaitakoo Buriram Province Bankhaodin Srakhaew Province and Banmamuang Trad Province . This research also presents the guidelines for upgrading checkpoints for border trade, for example, (1) Infrastructure development (2) city and regional planning (3) border town development and (4) economic development of border regions. In this research, the work on border trade development has faced many problems of data quantity and data quality, therefore, the integration between relevant participants, including, private sectors and government agencies should be encouraged and facilitated.