เรื่อง: กรอบอัตรากำลัง ปัจจัยท้าทายความสำเร็จและความยั่งยืนในการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว อุษณีย์ ธโนศวรรย์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง “กรอบอัตรากําลัง” ปจจัยทาทายความสําเร็จและความยั่งยืนในการขับเคลื่อน
การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นางสาวอุษณีย ธโนศวรรย หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค๓ ประการ คือ ๑. เพื่อศึกษาพัฒนาการของกรอบ
อัตรากําลังขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงบุคลากรทางการศึกษาอื่นตาม
มาตรา ๓๘ ค. (๒)ในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๒. วิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นจากการกําหนดให
สํ า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ห รื อ สํ า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึก ษ า
ประถมศึกษา เขต ๑ ที่ตั้งอยูในจังหวัดตางๆทําหนาที่เปนสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในจังหวัด
นั้นๆ ๓. เพื่อเสนอแนวทางในการกําหนดกรอบอัตรากําลังขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตําแหนงบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา ๓๘ ค.(๒) ในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสํานักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดเพื่อเปนกลไกในการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค
ในการศึกษานี้เก็บรวบรวมขอมูล ๒ สวน คือ ศึกษาขอมูลจากเอกสารหลักเกณฑตางๆ
และจากการการสัมภาษณแบบมีโครงสราง จากผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน
ดังกลาว ไดแก ผูตรวจราชการ ศึกษาธิการภาค ศึกษาธิการจังหวัด ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา กรรมการศึกษาธิการจังหวัด จํานวน ๑๘ ทาน ซึ่งผลการวิจัยมีดังนี้
กรอบอัตรากําลังมีการปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่องโดยมีการปรับปรุงทั้งสิ้น ๑๕ ครั้ง
การกําหนดกรอบอัตรากําลังพิจารณาจากโครงสรางการแบงสวนราชการ อํานาจหนาที่ความ
รับผิดชอบของหนวยงาน โดยมีปจจัยสําคัญประกอบการกําหนดอัตรากําลังตามปริมาณและคุณภาพ
ของงานจาก จํานวนสถานศึกษา จํานวนนักเรียน จํานวนขาราชการครูแลบุคลากรทางการศึกษา
จํานวนสถานศึกษาเอกชน สภาพพื้นที่ สําหรับการกําหนดใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาหรือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต ๑ ที่ตั้งอยูในจังหวัดตางๆ ทําหนาที่
เปนสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในจังหวัดนั้นๆ คือเปนศูนยประสานงานและแผนในจังหวัดไดเปน
อยางดีมีการแบงหนาที่ความรับผิดชอบดานการบริหารงานบุคคลจากเขตพื้นที่เพื่อใหสํานักงานเขต
พื้นที่ดําเนินงานดานการจัดการศึกษาไดอยางเต็มที่ แตขาดการเตรียมความพรอมทั้งดาน
กําลังคน วัสดุอุปกรณงบประมาณ การบริหารงานทําใหการดําเนินการขับเคลื่อนเปนไปไดชากวา
เปาหมายที่กําหนด สวนขอเสนอแนวทางการกําหนดกรอบอัตรากําลังในระยะแรกควรกําหนดเปน
กรอบอัตรากําลังชั่วคราวและทบทวนกรอบเมื่อมีความชัดเจนในบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบ
ของหนวยงานแลวและควรจัดระเบียบการบริหารใหมีเสนทางเชื่อมโยงระหวางหนวยงานเพื่อการ
แลกเปลี่ยนขอมูลและพัฒนางานรวมกัน มีการแบงงานที่ชัดเจน ลดความซ้ําซอน
abstract:
Abstract
Title “Manpower Allocation Framework” Challenging factors for sustainable regional
education reform
Field Social-Psychology
Name Miss Ausanee Thanosawan Course NDC Class 59
This study has 3 objectives, which includes: (1) To study the manpower allocation
development of the Teacher Civil Service and Educational Personnel in Educational Service
Area; (2) To analyze the implementation obstacles resulting from the authorization of mandate
and responsibilities from the Educational Service Area region 1 to the Provincial Education
Office ;and (3) To propose guidelines for the development of manpower allocation framework in
the Office of Educational Service area region 1, and the Provincial Education office to effectively
drive the Regional Education Reform.
Two main parts of data collection comprised of: 1) Documentary research including
the study of related laws, rules and regulations, and 2) the field study using structured interviews
to inquire experts in the studying area which were Inspector General, Director of Provincial
Education Office, Director of the Office of Primary Education Service Area, Committee in
provincial Education Committee, altogether 18 persons. The results showed that 1) the manpower
allocation framework has been continuously improved since 2004. The key factors that could be
taken into account were duties and responsibilities, the structure of the organization, and also the
quantity and the quality of work composing of the number of school, student, teacher and
educational personnel, the number of private school and situation in the implementation area ; 2)
The mandate assigned to the Primary Education Service Area Region 1 as a planning and
coordinating office was well received. As a consequence the administration of the Provincial
Education office was efficient. However, the constraints of the implementation could be seen at
the beginning period, which were the insufficiency of resources allocation (manpower, budget,
materials) and management. This resulted in the delay in the implementation process. It is
proposed that an initial manpower framework should be assigned as temporary. The concrete
framework can be identified once the mandate and responsibility of the offices concerned are
reviewed and developed. This can be done through the exchange of ideas and close cooperation
among offices concerned as well as the clarity of responsibility.