Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: กรอบอัตรากำลัง ปัจจัยท้าทายความสำเร็จและความยั่งยืนในการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว อุษณีย์ ธโนศวรรย์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง “กรอบอัตรากําลัง” ปจจัยทาทายความสําเร็จและความยั่งยืนในการขับเคลื่อน การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นางสาวอุษณีย ธโนศวรรย หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค๓ ประการ คือ ๑. เพื่อศึกษาพัฒนาการของกรอบ อัตรากําลังขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงบุคลากรทางการศึกษาอื่นตาม มาตรา ๓๘ ค. (๒)ในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๒. วิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นจากการกําหนดให สํ า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ห รื อ สํ า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึก ษ า ประถมศึกษา เขต ๑ ที่ตั้งอยูในจังหวัดตางๆทําหนาที่เปนสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในจังหวัด นั้นๆ ๓. เพื่อเสนอแนวทางในการกําหนดกรอบอัตรากําลังขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา ๓๘ ค.(๒) ในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสํานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดเพื่อเปนกลไกในการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค ในการศึกษานี้เก็บรวบรวมขอมูล ๒ สวน คือ ศึกษาขอมูลจากเอกสารหลักเกณฑตางๆ และจากการการสัมภาษณแบบมีโครงสราง จากผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน ดังกลาว ไดแก ผูตรวจราชการ ศึกษาธิการภาค ศึกษาธิการจังหวัด ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา กรรมการศึกษาธิการจังหวัด จํานวน ๑๘ ทาน ซึ่งผลการวิจัยมีดังนี้ กรอบอัตรากําลังมีการปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่องโดยมีการปรับปรุงทั้งสิ้น ๑๕ ครั้ง การกําหนดกรอบอัตรากําลังพิจารณาจากโครงสรางการแบงสวนราชการ อํานาจหนาที่ความ รับผิดชอบของหนวยงาน โดยมีปจจัยสําคัญประกอบการกําหนดอัตรากําลังตามปริมาณและคุณภาพ ของงานจาก จํานวนสถานศึกษา จํานวนนักเรียน จํานวนขาราชการครูแลบุคลากรทางการศึกษา จํานวนสถานศึกษาเอกชน สภาพพื้นที่ สําหรับการกําหนดใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาหรือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต ๑ ที่ตั้งอยูในจังหวัดตางๆ ทําหนาที่ เปนสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในจังหวัดนั้นๆ คือเปนศูนยประสานงานและแผนในจังหวัดไดเปน อยางดีมีการแบงหนาที่ความรับผิดชอบดานการบริหารงานบุคคลจากเขตพื้นที่เพื่อใหสํานักงานเขต พื้นที่ดําเนินงานดานการจัดการศึกษาไดอยางเต็มที่ แตขาดการเตรียมความพรอมทั้งดาน กําลังคน วัสดุอุปกรณงบประมาณ การบริหารงานทําใหการดําเนินการขับเคลื่อนเปนไปไดชากวา เปาหมายที่กําหนด สวนขอเสนอแนวทางการกําหนดกรอบอัตรากําลังในระยะแรกควรกําหนดเปน กรอบอัตรากําลังชั่วคราวและทบทวนกรอบเมื่อมีความชัดเจนในบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบ ของหนวยงานแลวและควรจัดระเบียบการบริหารใหมีเสนทางเชื่อมโยงระหวางหนวยงานเพื่อการ แลกเปลี่ยนขอมูลและพัฒนางานรวมกัน มีการแบงงานที่ชัดเจน ลดความซ้ําซอน

abstract:

Abstract Title “Manpower Allocation Framework” Challenging factors for sustainable regional education reform Field Social-Psychology Name Miss Ausanee Thanosawan Course NDC Class 59 This study has 3 objectives, which includes: (1) To study the manpower allocation development of the Teacher Civil Service and Educational Personnel in Educational Service Area; (2) To analyze the implementation obstacles resulting from the authorization of mandate and responsibilities from the Educational Service Area region 1 to the Provincial Education Office ;and (3) To propose guidelines for the development of manpower allocation framework in the Office of Educational Service area region 1, and the Provincial Education office to effectively drive the Regional Education Reform. Two main parts of data collection comprised of: 1) Documentary research including the study of related laws, rules and regulations, and 2) the field study using structured interviews to inquire experts in the studying area which were Inspector General, Director of Provincial Education Office, Director of the Office of Primary Education Service Area, Committee in provincial Education Committee, altogether 18 persons. The results showed that 1) the manpower allocation framework has been continuously improved since 2004. The key factors that could be taken into account were duties and responsibilities, the structure of the organization, and also the quantity and the quality of work composing of the number of school, student, teacher and educational personnel, the number of private school and situation in the implementation area ; 2) The mandate assigned to the Primary Education Service Area Region 1 as a planning and coordinating office was well received. As a consequence the administration of the Provincial Education office was efficient. However, the constraints of the implementation could be seen at the beginning period, which were the insufficiency of resources allocation (manpower, budget, materials) and management. This resulted in the delay in the implementation process. It is proposed that an initial manpower framework should be assigned as temporary. The concrete framework can be identified once the mandate and responsibility of the offices concerned are reviewed and developed. This can be done through the exchange of ideas and close cooperation among offices concerned as well as the clarity of responsibility.