Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยในเขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองชายแดน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี อำพล บัวรับพร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยในเขตเศรษฐกิจพิเศษ เมืองชายแดน อ าเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ ผู้วิจัย พลต ารวจตรีอ าพล บัวรับพร หลักสูตร วปอ. รุ่น 59 การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อ การบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยในเขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองชายแดน อ าเภอสะเดา จังหวัด สงขลา และ 2. เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัย ในเขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองชายแดน อ าเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ที่เหมาะสมกับพื้นที่และบริบทอันมี ความเฉพาะเจาะจงของพื้นที่แก่หน่วยงานความมั่นคงที่เกี่ยวข้อง มีขอบเขตเนื้อหาที่แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยในเขต เศรษฐกิจพิเศษเมืองชายแดน อ าเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นการรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ประชาชน 390 คนและกลุ่มเจ้าหน้าที่รัฐและผู้สนใจลงทุน 200 คน รวม 590 คน และส่วนที่ 2 ศึกษาและวิเคราะห์แนวทางการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยในเขตเศรษฐกิจพิเศษเมือง ชายแดน อ าเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นการรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูล 2 วิธี คือ การสรุปเนื้อหาสาระส าคัญของข้อมูลในการก าหนดแนวทางการบริหารจัดการความมั่นคง ปลอดภัยในพื้นที่ฯ และการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยในเขต เศรษฐกิจพิเศษเมืองชายแดน อ าเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ผลการศึกษาพบว่า การบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยในเขตเศรษฐกิจพิเศษเมือง ชายแดน อ าเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ผสานรวมแผนบริหารจัดการชายแดนด้านความมั่นคง (พ.ศ. 2559–2562) นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (พ.ศ.2560-2562) และ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2558-2564) เพื่อใช้แก้ไขปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่ชายแดน และสถานการณ์การก่อความรุนแรงและการก่อความไม่สงบ ซึ่งระบุถึงการสนับสนุนการมีส่วนร่วม ของหลายภาคส่วนในการตรวจสอบ ช่วยเหลือ สนับสนุนเพื่อการวางแผนในการด าเนินงานและ พัฒนา ปรับปรุงการด าเนินงานให้เกิดความเหมาะสมอยู่เป็นระยะ ผลลัพธ์เชิงผลการด าเนินงานพบว่า สามารถป้องกันและปราบปรามเหตุอาชญากรรมใน พื้นที่ได้ แม้จะมีความพยายามในการก่อเหตุอาชญากรรมและเหตุความไม่สงบอยู่เป็นระยะๆก็ตาม แต่ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็ยังสามารถรับมือกับเหตุการณ์ดังกล่าวได้ และเมื่อมองย้อนกลับไปสู่ ความพึงพอใจต่อการท างานของเจ้าหน้าที่รัฐพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในการปฏิบัติ หน้าที่ตามแผนงาน แต่บางส่วนกลับได้รับผลกระทบในเรื่องของความสะดวกในการด าเนินกิจวัตร ประจ าวัน และบางครั้งประชาชนเกิดความไม่เข้าใจและกังวลใจในเรื่องของการปฏิบัติหน้าที่บาง รายการ ข ผู้ศึกษาจึงขอเสนอแนะหน่วยงานในพื้นที่น าแนวคิดประยุกต์ POSD CoRe BudE and PAMSo.และส่งเสริมให้จัดตั้งหน่วยรับผิดชอบในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารแบบการพูดคุย ติดต่อสื่อสารระหว่างกันเชิงปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (การสื่อสารที่สามารถโต้ตอบกันหรือ Two-Way Communication) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนมีความเข้าใจและหรือมีความคิดเห็นและ หรือรับฟังผลกระทบจากประชาชนโดยตรง

abstract:

ABSTRACT Title Security Management Approach on The Special Economic Zone of the border town, Sadao District, Songkhla Province Field Strategy Name Pol.Maj.Gen. Amphon Buarabporn Course NDC Class 59 The objective of the study is 1. To study and analyze the factors affecting safety management in The Special Economic Zone of the border town, Sadao District, Songkhla Province. And 2. To provide guidance on how to improve the management of security in The Special Economic Zone of the border town, Sadao District, Songkhla Province, appropriate to the area and specific context of the area to the relevant security agencies. The content is divided into 2 parts as follows: Part 1: To study and analyze the factors affecting the security management in The Special Economic Zone of the border town, Sadao District, Songkhla Province. Use a questionnaire as a tool to gather information. The sample was divided into 2 groups: G1 People 390 person and G2 Government officials and Investors 200 person, totaling 590 person And Part 2 studies and analyzes the security management practices in The Special Economic Zone of the border town, Sadao District, Songkhla Province. This study is 2 methods of data collection were used: a summary of the content of the data in defining the security management in the area And interviews with those involved in security management in The Special Economic Zone of the border town, Sadao District, Songkhla Province The study indicated that Security Management in The Special Economic Zone of the border town, Sadao District, Songkhla Province is integrated with Security Border Management Plan (2016-2019), Management Policy and Development of Southern Border Provinces (2060-2019) and National Security Policy (2015-2021). To tackle crime in border areas and violence and incitement. It identifies support for multiple stakeholder engagement in monitoring, support, and support for operational and development planning. Improve the operation for the appropriate period. Performance results that can prevent and suppress crime in the area. Despite repeated attempts to commit crimes and unrest. But related agencies can still cope with such events. And looking back on the job satisfaction of state officials found that. Most people are satisfied with their planned duties. But some are affected by the ease of carrying out their daily activities. And sometimes people do not understand and are worried about some of their duties. And researcher's recommended that the agency recommend the use of the “POSD CoRe BudE and PAMSo.” concept and promote the establishment of a responsible agency for public relations, communication, interpersonal communication. Two-Way Communication to encourage the public to understand and / or to comment and or listen to the impact of the people directly.