เรื่อง: แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการควบคุมผู้ต้องขังหัวรุนแรงในภาคใต้ของประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อายุตม์ สินธพพันธุ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการควบคุมผูตองขังหัวรุนแรงในภาคใตของประเทศไทย
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นายอายุตม สินธพพันธุ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
งานวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงคสําคัญ ๓ ประการ คือ เพื่อศึกษาแนวทางการควบคุม
ผูตองขังหัวรุนแรงที่มีประสิทธิภาพในตางประเทศ เพื่อศึกษาแนวทางการควบคุมผูตองขังหัวรุนแรงใน
ประเทศไทย และทายที่สุด เพื่อใหไดมาซึ่งขอเสนอแนวทางการควบคุมผูตองขังหัวรุนแรงที่เหมาะสม
และมีประสิทธิภาพในบริบทของประเทศไทย การศึกษาประเด็นนี้มีความจําเปนเนื่องจาก ปจจุบัน
กรมราชทัณฑไทยยังไมมีการศึกษาและกําหนดนโยบายการควบคุมผูตองขังหัวรุนแรงที่ชัดเจนและเปน
รูปธรรม ซึ่งการควบคุมผูตองขังกลุมนี้มีอันตรายและความเสี่ยงสูงจากการบมเพาะและเผยแพร
แนวคิดหัวรุนแรง (Radicalization) ใหแกผูตองขังอื่นในเรือนจํา โดยที่ผานมา หลายประเทศในโลกได
ประสบกับภัยคุกคามจากปรากฏการณดังกลาวแลว ทั้งกรณีกลุมอัลกออิดะหและกลุมไอเอส ซึ่งใช
วิธีการบมเพาะแนวคิดและชักชวนผูตองขังใหเขารวมกลุม จนกระทั่งสามารถกอการรายไดสําเร็จ
จากการศึกษาแนวทางการควบคุมของตางประเทศ และการเก็บขอมูลดวยแบบสอบถาม
(Questionnaire) จากกลุมตัวอยาง ประกอบดวยผูบัญชาการเรือนจําและเจาหนาที่ราชทัณฑ
ในเรือนจํา ๕ แหง คือ เรือนจํากลางสงขลา เรือนจํากลางปตตานี เรือนจํากลางยะลา เรือนจําจังหวัด
นราธิวาส และเรือนจําอําเภอนาทวี แหงละ ๕ คน รวมทั้งหมด ๒๕ คน พบวารูปแบบการควบคุม
ผูตองขังหัวรุนแรงที่เหมาะสมกับประเทศไทย คือ การแยกการคุมขังผูตองขังหัวรุนแรงออกจาก
ผูตองขังคดีทั่วไป (Separation) และควรควบคุมผูตองขังทั้งหมดไวในเรือนจําแหงเดียว
(Concentration) ดวยเหตุผลสนับสนุน คือ กรมราชทัณฑจะสามารถกําหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน
และการจัดโปรแกรมการบําบัดฟนฟูใดๆ จะกระทําไดอยางเต็มที่ สะดวกตอการวัดผลสําเร็จของ
โปรแกรม ตลอดจนการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห ยิ่งไปกวานั้น กรมราชทัณฑจะสามารถบริหาร
และจัดสรรทรัพยากรทั้งงบประมาณและเจาหนาที่ไดอยางเหมาะสม อยางไรก็ดี เมื่อพิจารณาจาก
แนวทางการควบคุมของตางประเทศ พบวา ประสิทธิภาพการควบคุมตองมีปจจัยเสริมเพิ่มเติม ผูวิจัย
จึงไดเสนอรูปแบบ PSPI ยอมาจาก Prisoner, Staff, Prison, Information & Intelligence
หมายความวา นอกจากการกําหนดเรือนจําสําหรับควบคุมผูตองขังหัวรุนแรงเปนการเฉพาะแลว
จําเปนตองมีการดําเนินการดานการจําแนกลักษณะและการประเมินความเสี่ยงผูตองขัง การฝกอบรม
เจาหนาที่ในดานภาษายาวี ความเขาใจศาสนาและอันตรายจากการบมเพาะแนวคิดหัวรุนแรงใน
เรือนจํา รวมทั้งการดําเนินการดานการขาวและระบบฐานขอมูล ซึ่งผูวิจัยเสนอใหกรมราชทัณฑ
มอบหมายกําหนดเรือนจําทัณฑสถานแหงหนึ่งแหงใดในภาคใตเปนสถานที่ควบคุมผูตองขังหัวรุนแรง
แตเพียงแหงเดียวและดําเนินการปจจัยเสริมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหครบทุกดาน เมื่อดําเนินการสําเร็จ
แลว จึงจะสามารถวางนโยบายในการปฏิบัติดานอื่นๆ เชน โปรแกรมการบําบัดฟนฟูที่เหมาะสม อัน
เปนการพัฒนากระบวนการปฏิบัติตอผูตองขังหัวรุนแรงใหครบทุกมิติตอไป
abstract:
ABSTRACT
Title: Measures for Enhancing Efficiency in the Custody of Violent
Extremist Offenders in the Southern Region of Thailand
Field Social – Psychology
Name Dr. Ayuth Sintoppant Course NDC
This research has 3 major aims: to study the effective guidelines on
keeping violent extremist offenders (VEOs) and security detainees in custody in other
countries; to examine the current custodial practices of VEOs and security detainees
in Thailand; and to come up with recommendations concerning efficient and
appropriate measures for detaining the VEOs in Thai context. This issue is extremely
critical as Thailand has not formulated any specific policy on the custody of these
inmates yet. More importantly, they could pose high risk to prison authority in terms
of radicalization and incubator of terrorism behind bars. In the past, there were clear
evidences indicating that many countries were facing the threats from terrorist groups,
such as Al-Queda and IS, because of the radicalization inside the prison walls. The
research methodology was consisted of documentary analysis and questionnaires
received from 25 participants: 5 prison directors and 20 prison officers working in
Songkhla Central Prison, Pattani Central Prison, Yala Central Prison, Narathiwat
Provincial Prison and Nathawee District Prison. According to the findings, the
appropriate measure for detaining VEOs and security detainees in Thailand was
‘Separation’ or to detain inmates separately from other normal prisoners and lock
them inside only one institution (Concentration). The major reasons were that, firstly, Thai Department of Corrections could carry out clear policy and run all necessary
activities on the treatment of VEOs. Besides, it was easier to assess the outcomes of
the programs, as well as to provide them with social welfare. On top of that, the
department could efficiently allocate both financial and human resources to the
target prison. Nevertheless, from the lesson learned in other countries, there were
also 4 crucial components to assist the custody of VEOs: PSPI standing for Prisoner, Staff, Prison and Information & Intelligence. To explain, these additional components
covered the focuses on classification/risk assessment, staff training for enhancing
understanding of Yawee, Islam and dangers from prison radicalization, and
intelligence and information system. The researcher recommended that the
department should appoint one prison in the southern region to be a special facility
for detaining VEOs. In addition, all components or PSPI must be well equipped. Once
these processes have been completed, the department could later impose other
policies, in particular the rehabilitation programs and pre-release schemes.