Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการแก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ของนักเรียน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อรรถพล ตรึกตรอง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการแกไขปญหาการอานไมออกเขียนไมไดของนักเรียน ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นายอรรถพล ตรึกตรอง หลักสูตร วปอ. รุนที่59 การศึกษา เรื่อง แนวทางการแกไขปญหาการอานไมออกเขียนไมไดขอนักเรียน มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาสภาพแวดลอมระบบการศึกษาประเทศไทยและปญหาการอานไมออกเขียนไมไดของนักเรียนในเขต ตรวจราชการที่ 14 และเพื่อศึกษาแนวทางการแกไขปญหาการอานไมออกเขียนไมไดของนักเรียนในเขตตรวจ ราชการที่ 14 ผลการศึกษา จากการศึกษาแนวทางการแกไขปญหาการอานไมออกเขียนไมไดของนักเรียน ในเขตตรวจ ราชการที่ 14 สามารถสรุปผลและนําประเด็นสําคัญมาอภิปรายผลไดดังนี้ ดานผูบริหารสถานศึกษา กําหนดนโยบายการแกปญหาการอาน การเขียน เปนนโยบาย สําคัญเรงดวนที่ตองปฏิบัติที่ชัดเจน ใหความชวยเหลือ สงเสริม สนับสนุนในการจัดกระบวนการเรียนรู แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการแกปญหา จัดทําโครงการที่พัฒนาคุณภาพการเรียน การสอนภาษาไทย กําหนดกิจกรรมที่ชัดเจน จัดทําขอมูลนักเรียนที่มีปญหาการอาน การเขียน และวิเคราะหสภาพปญหาเปน รายบุคคลทุกระดับชั้น ทุกตนปการศึกษา และควรสนับสนุนสงเสริมใหครูไดพัฒนาตนเองเพิ่มพูนยกระดับ ความรูความสามารถในการสอนอยางมีประสิทธิภาพ ดานการจัดการเรียนการสอนของครูผูสอนภาษาไทย มีความตระหนักและเนนความสําคัญใน การสํารวจและคัดกรองนักเรียนออกเปนกลุม ๆ โดยสํารวจสาเหตุที่ทําใหนักเรียนอานไมออกเขียนไมได ดวย การทดสอบวัดความสามารถดานการอานการเขียน คัดกรองนักเรียนที่อานไมออกเขียนไมได และวิเคราะห สภาพปญหาเปนรายบุคคล ทุกระดับชั้น ทุกตนปการศึกษา ครูผูสอนดําเนินการแกไขปญหาเปนรายบุคคลหรือ เปนกลุมตามลักษณะปญหา โดยใชสื่อและเทคนิควิธีการที่หลากหลาย ผลิตสื่อแกปญหาการอาน การเขียน เปนสื่อ เริ่มจากพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และการแจกลูก ประสมคํา ใชแรงจูงใจใหอยากอานเขียนดวยตนเอง ปลูกฝงนิสัยรักการอาน โดยใชกระบวนการกลุมสัมพันธ เพื่อนชวยเพื่อน พี่สอนนอง จัดกิจกรรมใหเด็กมี ทัศนคติที่ดีกับภาษาไทย ใหนักเรียนไดสนุกสนาน ผสานกับความรูทางวิชาการโดยผานเกมการเลนและเกม การศึกษา จัดคายชวงปดภาคเรียนภาคตน และกอนเปดภาคเรียนแตละปการศึกษา ประเมินผลการปฏิบัติงาน เปนระยะเพื่อใหทราบปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน และรวมกันหาวิธีการแกปญหาอยางเปนระบบ สวนนักเรียนที่อานไมออก/อานไมคลอง มักมีปญหาในเรื่องของระบบความจํา ความสัมพันธ ระหวางสายตา ปาก และสมอง การจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเขียน เปนกิจกรรมสรางแรงจูงใจ เชน เพลง เกม นิทาน โดยใชจิตวิทยาเขาชวยในการฝก ไดแก จัดกิจกรรมโครงการแกปญหาอานไมออกเขียนไมได สําหรับชั้น ประถมศึกษาปที่ 1–6 กิจกรรมภาษาไทยวันละ 5–10 คํา ทุกวัน จัดกิจกรรมเพื่อนชวยเพื่อน พี่ชวยนอง เพื่อดูแลแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันเปนประจําทุกวัน จัดกิจกรรมรักการอานรักษภาษาไทย จัดทําสื่อ สําหรับอานและเขียนอยางหลากหลาย เชน บัตรภาพ บัตรคํา แบบหัดอานหนังสือไทย ชุดฝกทักษะทางข ภาษาไทย กิจกรรมโครงการวัดและประเมินตามสภาพจริงโดยใชแฟมสะสมผลงาน รวมทั้งกิจกรรมการ เรียนรูตามแนวคิดสมองเปนฐาน (BBL : Brian – Based Leaning) ตามกระบวนการของกุญแจ 5 ดอก การมีสวนรวมของผูปกครอง สถานศึกษาควรขอความรวมมือกับผูปกครองชวยดูแล การ อานการเขียนที่บาน โดยฝกอานทุกวันและขอลายเซ็นรับรองจากผูปกครอง พรอมทั้งติดตอขอทราบ ความกาวหนาทางโทรศัพท มีกิจกรรมทํารวมกัน เชน พาลูกอานหนังสือ ฝกการเขียนเปนประจํา สอนทํา แบบฝกหัด ใหลูกอานหนังสือใหฟง เขียนใหดู หรือผูปกครองอานทบทวนใหเด็กฟง และชวยแนะนํา สอน การบาน สงเสริมใหลูกอานหนังสือหลากหลาย เปนตน

abstract:

ABSTRACT TOPIC Possible Solutions to the Illiteracy Problem among Students SUBJECT Social Psychology RESEARCHER Mr. Attapon Truektrong COURSE National Defence Course, Batch 59 The study on the topic of “Suggested Solutions to the Illiteracy Problem among Students” aims to study the situations that encircle the Thai education system and the illiteracy problem among students in the Inspection Area 14 and to propose the possible solutions to the illiteracy problem among students in the Inspection Area 14. RESEARCH FINDINGS The research findings from the study on the topic of the possible solutions to the illiteracy problem among students in the Inspection Area 14 were concluded and proposed in 4 following aspects: Administrators of Educational Institutions have to formulate the policy to solve the illiteracy problem as an urgent policy, with clear-cut strategies. In so doing, assistance must be provided to support and enhance the learning process; a Committee must be set up to solve the illiteracy problem; projects must be implemented to develop the quality of Thai language instruction; data of students with illiteracy problem must be compiled; illiteracy problem of each student in each class must be analyzed individually, starting from the commencement of each academic year; and teachers should be encouraged to develop themselves in such a way that they will be able to teach more efficiently and effectively. Teachers of Thai Language need to recognize the importance of surveying and dividing their students into groups. In so doing, teachers need to find out the causes of illiteracy among students through literacy tests; separate illiterate students and analyze the illiteracy problem of each student in each class individually, starting from the commencement of each academic year; solve the illiteracy problem, as an individual, or as a group with similar challenges, by using numerous learning media and techniques; develop the learning media to solve the illiteracy problem, starting from alphabets, vowels, tone marks, and spellings; encourage students to read and write and nurture their reading habits through numerous methods, including group networks, friends-help-friends, elders-teach-- 2 - younger brothers or sisters; set up activities to create favourable attitudes towards learning Thai language by integrating academic knowledge with children’s games and educational games; organize Thai language camps during semester breaks before the beginning of the first semester and at the end of the second semester of each academic year; monitor and assess the results and implementation problems from time to time and solve the problems collectively and systematically due to the fact that students who are illiterate or who are slow at reading usually have problems about their cognitive ability and coordination between their eyes, verbal expression and brain. Organization of Activities to Promote Reading and Writing Skills: Activities, such as singing, playing games, storytelling, should be used to motivate learners. For example, activities to solve the illiteracy problems of primary students (Grade 1- Grade 6) should be conducted daily. The aim is to help them read and write 5-10 words each day. Numerous activities can be held to promote reading habits and such activities should also encourage assistance among peers and siblings. Teachers should create learning media to promote reading and writing skills, such as picture card and word card as well as other media to promote practice related to reading, Thai language skills. In addition, activities should be in line with authentic measurement and assessment, using portfolio, and brain-based learning (BBL), following the 5- key process. Participation of Parents: Schools should encourage parents to assist their children in reading and writing Thai language. In so doing, schools can encourage children to practice reading daily and ask for their parents’ signature. Schools can encourage students’ parents to call teachers to follow up their children’s progress and to undertake activities that promote reading and writing on a regular basis. Parents should be encouraged to teach while their children are doing reading/writing exercises, read to them and show them how to write. Parents should also be encouraged to listen to their children while they are reading, and assist them while they are doing their homework as well as encourage them to read books of various topics.