เรื่อง: แนวทางการแก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ของนักเรียน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อรรถพล ตรึกตรอง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการแกไขปญหาการอานไมออกเขียนไมไดของนักเรียน
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นายอรรถพล ตรึกตรอง หลักสูตร วปอ. รุนที่59
การศึกษา เรื่อง แนวทางการแกไขปญหาการอานไมออกเขียนไมไดขอนักเรียน มีวัตถุประสงคเพื่อ
ศึกษาสภาพแวดลอมระบบการศึกษาประเทศไทยและปญหาการอานไมออกเขียนไมไดของนักเรียนในเขต
ตรวจราชการที่ 14 และเพื่อศึกษาแนวทางการแกไขปญหาการอานไมออกเขียนไมไดของนักเรียนในเขตตรวจ
ราชการที่ 14
ผลการศึกษา
จากการศึกษาแนวทางการแกไขปญหาการอานไมออกเขียนไมไดของนักเรียน ในเขตตรวจ
ราชการที่ 14 สามารถสรุปผลและนําประเด็นสําคัญมาอภิปรายผลไดดังนี้
ดานผูบริหารสถานศึกษา กําหนดนโยบายการแกปญหาการอาน การเขียน เปนนโยบาย
สําคัญเรงดวนที่ตองปฏิบัติที่ชัดเจน ใหความชวยเหลือ สงเสริม สนับสนุนในการจัดกระบวนการเรียนรู
แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการแกปญหา จัดทําโครงการที่พัฒนาคุณภาพการเรียน การสอนภาษาไทย
กําหนดกิจกรรมที่ชัดเจน จัดทําขอมูลนักเรียนที่มีปญหาการอาน การเขียน และวิเคราะหสภาพปญหาเปน
รายบุคคลทุกระดับชั้น ทุกตนปการศึกษา และควรสนับสนุนสงเสริมใหครูไดพัฒนาตนเองเพิ่มพูนยกระดับ
ความรูความสามารถในการสอนอยางมีประสิทธิภาพ
ดานการจัดการเรียนการสอนของครูผูสอนภาษาไทย มีความตระหนักและเนนความสําคัญใน
การสํารวจและคัดกรองนักเรียนออกเปนกลุม ๆ โดยสํารวจสาเหตุที่ทําใหนักเรียนอานไมออกเขียนไมได ดวย
การทดสอบวัดความสามารถดานการอานการเขียน คัดกรองนักเรียนที่อานไมออกเขียนไมได และวิเคราะห
สภาพปญหาเปนรายบุคคล ทุกระดับชั้น ทุกตนปการศึกษา ครูผูสอนดําเนินการแกไขปญหาเปนรายบุคคลหรือ
เปนกลุมตามลักษณะปญหา โดยใชสื่อและเทคนิควิธีการที่หลากหลาย ผลิตสื่อแกปญหาการอาน การเขียน
เปนสื่อ เริ่มจากพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และการแจกลูก ประสมคํา ใชแรงจูงใจใหอยากอานเขียนดวยตนเอง
ปลูกฝงนิสัยรักการอาน โดยใชกระบวนการกลุมสัมพันธ เพื่อนชวยเพื่อน พี่สอนนอง จัดกิจกรรมใหเด็กมี
ทัศนคติที่ดีกับภาษาไทย ใหนักเรียนไดสนุกสนาน ผสานกับความรูทางวิชาการโดยผานเกมการเลนและเกม
การศึกษา จัดคายชวงปดภาคเรียนภาคตน และกอนเปดภาคเรียนแตละปการศึกษา ประเมินผลการปฏิบัติงาน
เปนระยะเพื่อใหทราบปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน และรวมกันหาวิธีการแกปญหาอยางเปนระบบ
สวนนักเรียนที่อานไมออก/อานไมคลอง มักมีปญหาในเรื่องของระบบความจํา ความสัมพันธ
ระหวางสายตา ปาก และสมอง
การจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเขียน เปนกิจกรรมสรางแรงจูงใจ เชน เพลง เกม
นิทาน โดยใชจิตวิทยาเขาชวยในการฝก ไดแก จัดกิจกรรมโครงการแกปญหาอานไมออกเขียนไมได สําหรับชั้น
ประถมศึกษาปที่ 1–6 กิจกรรมภาษาไทยวันละ 5–10 คํา ทุกวัน จัดกิจกรรมเพื่อนชวยเพื่อน พี่ชวยนอง
เพื่อดูแลแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันเปนประจําทุกวัน จัดกิจกรรมรักการอานรักษภาษาไทย จัดทําสื่อ
สําหรับอานและเขียนอยางหลากหลาย เชน บัตรภาพ บัตรคํา แบบหัดอานหนังสือไทย ชุดฝกทักษะทางข
ภาษาไทย กิจกรรมโครงการวัดและประเมินตามสภาพจริงโดยใชแฟมสะสมผลงาน รวมทั้งกิจกรรมการ
เรียนรูตามแนวคิดสมองเปนฐาน (BBL : Brian – Based Leaning) ตามกระบวนการของกุญแจ 5 ดอก
การมีสวนรวมของผูปกครอง สถานศึกษาควรขอความรวมมือกับผูปกครองชวยดูแล การ
อานการเขียนที่บาน โดยฝกอานทุกวันและขอลายเซ็นรับรองจากผูปกครอง พรอมทั้งติดตอขอทราบ
ความกาวหนาทางโทรศัพท มีกิจกรรมทํารวมกัน เชน พาลูกอานหนังสือ ฝกการเขียนเปนประจํา สอนทํา
แบบฝกหัด ใหลูกอานหนังสือใหฟง เขียนใหดู หรือผูปกครองอานทบทวนใหเด็กฟง และชวยแนะนํา สอน
การบาน สงเสริมใหลูกอานหนังสือหลากหลาย เปนตน
abstract:
ABSTRACT
TOPIC Possible Solutions to the Illiteracy Problem among Students
SUBJECT Social Psychology
RESEARCHER Mr. Attapon Truektrong
COURSE National Defence Course, Batch 59
The study on the topic of “Suggested Solutions to the Illiteracy
Problem among Students” aims to study the situations that encircle the Thai
education system and the illiteracy problem among students in the Inspection
Area 14 and to propose the possible solutions to the illiteracy problem among
students in the Inspection Area 14.
RESEARCH FINDINGS
The research findings from the study on the topic of the possible
solutions to the illiteracy problem among students in the Inspection Area 14 were
concluded and proposed in 4 following aspects:
Administrators of Educational Institutions have to formulate the
policy to solve the illiteracy problem as an urgent policy, with clear-cut strategies.
In so doing, assistance must be provided to support and enhance the learning
process; a Committee must be set up to solve the illiteracy problem; projects
must be implemented to develop the quality of Thai language instruction; data of
students with illiteracy problem must be compiled; illiteracy problem of each
student in each class must be analyzed individually, starting from the
commencement of each academic year; and teachers should be encouraged to
develop themselves in such a way that they will be able to teach more efficiently
and effectively.
Teachers of Thai Language need to recognize the importance of
surveying and dividing their students into groups. In so doing, teachers need to find
out the causes of illiteracy among students through literacy tests; separate
illiterate students and analyze the illiteracy problem of each student in each class
individually, starting from the commencement of each academic year; solve the
illiteracy problem, as an individual, or as a group with similar challenges, by using
numerous learning media and techniques; develop the learning media to solve the
illiteracy problem, starting from alphabets, vowels, tone marks, and spellings;
encourage students to read and write and nurture their reading habits through
numerous methods, including group networks, friends-help-friends, elders-teach-- 2 -
younger brothers or sisters; set up activities to create favourable attitudes towards
learning Thai language by integrating academic knowledge with children’s games
and educational games; organize Thai language camps during semester breaks
before the beginning of the first semester and at the end of the second semester
of each academic year; monitor and assess the results and implementation
problems from time to time and solve the problems collectively and
systematically due to the fact that students who are illiterate or who are slow at
reading usually have problems about their cognitive ability and coordination
between their eyes, verbal expression and brain.
Organization of Activities to Promote Reading and Writing Skills:
Activities, such as singing, playing games, storytelling, should be used to motivate
learners. For example, activities to solve the illiteracy problems of primary
students (Grade 1- Grade 6) should be conducted daily. The aim is to help them
read and write 5-10 words each day. Numerous activities can be held to promote
reading habits and such activities should also encourage assistance among peers
and siblings. Teachers should create learning media to promote reading and writing
skills, such as picture card and word card as well as other media to promote
practice related to reading, Thai language skills. In addition, activities should be in
line with authentic measurement and assessment, using portfolio, and brain-based
learning (BBL), following the 5- key process.
Participation of Parents: Schools should encourage parents to
assist their children in reading and writing Thai language. In so doing, schools can
encourage children to practice reading daily and ask for their parents’ signature.
Schools can encourage students’ parents to call teachers to follow up their
children’s progress and to undertake activities that promote reading and writing on
a regular basis. Parents should be encouraged to teach while their children are
doing reading/writing exercises, read to them and show them how to write. Parents
should also be encouraged to listen to their children while they are reading, and
assist them while they are doing their homework as well as encourage them to
read books of various topics.