เรื่อง: วินัยสร้างชาย กรณีศึกษาเหตุปัจจัยที่คนไทยไม่อยู่ในความมีระเบียบวินัยของสังคมในที่สาธารณะ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว อรนุช ศรีนนท์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง สรางเอกลักษณไทยใหม : คนไทยอยูในระเบียบวินัยในที่สาธารณะ
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นางสาวอรนุช ศรีนนท หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
ความไมมีระเบียบวินัยในที่สาธารณะของคนไทยกําลังเปนปญหาหนึ่งที่บั่นทอน
การพัฒนาประเทศไทยไปสูประเทศพัฒนาแลวตามเปาหมายที่กําหนดไวในยุทธศาสตรชาติ๒๐ ป
เพราะความมีระเบียบวินัยของคนในชาติเปนพื้นฐานสําคัญของประเทศที่พัฒนาแลว และบงบอก
ถึงมาตรฐานคุณภาพของทรัพยากรบุคคลของประเทศ ดังนั้น ผูศึกษาจึงมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนนิสัย
คนไทยที่ไมอยูในระเบียบวินัยในที่สาธารณะไปสูการสรางคนไทยใหมีระเบียบวินัยในที่สาธารณะ
เปนการพลิกโฉมคนไทยใหมีคุณภาพเทียบเทาอารยประเทศ การศึกษานี้ใชแนวคิดทฤษฎีวงจร PDCA
หรือ Deming Cycle พบวารัฐบาลทุกยุคสมัยไดมีนโยบายสงเสริมใหคนไทยมีระเบียบวินัยในที่
สาธารณะ ไดมีการออกกฎหมายเพื่อเปนขอบังคับมากมาย ตลอดจนไดสงเสริมใหเด็กไทยมีระเบียบ
วินัยผานคําขวัญวันเด็ก และในรัฐบาลปจจุบันยังไดบัญญัติคานิยมหลัก ๑๒ ประการ โดยมุงเนน
ความสําคัญของการมีระเบียบวินัยและเคารพกฎหมายไวแตยังปรากฎวา สังคมไทยตองประสบกับ
ความไมมีระเบียบวินัยในที่สาธารณะของคนในชาติมากขึ้น แนวทางมาตรการตาง ๆ ที่กําหนดขึ้นมาไม
สามารถตอบโจทยตอปญหานี้ไดและขอมูลจากการสัมภาษณ โดยมีประชากรอยูทั้งระดับนโยบาย
และระดับปฏิบัติในงานพบวา สาเหตุปจจัยใดที่ทําใหคนไทยไมอยูในระเบียบวินัยในที่สาธารณะ
ในขั้นตอนของ C (Check) ทฤษฎีPDCA คือ ๑.สาเหตุปจจัยรากเหงาของคานิยมวัฒนธรรมไทย
ที่รักสบาย ชอบทําอะไรตามใจตนเอง เห็นแกประโยชนสวนตนเปนหลัก โดยไมคิดคํานึงถึงประโยชน
สวนรวม ๒. ระบบการศึกษาไทยไมเนนสอนความเปนพลเมืองที่รับผิดชอบตอตนเองและสังคม
๓. นโยบายการสงเสริมความมีระเบียบวินัยในที่สาธารณะไมไดรับการดําเนินการในทางปฏิบัติตาม
มาตรการตาง ๆ อยางจริงจังตอเนื่อง โดยเฉพาะการณรงคใหประชาชนมีจิตสํานึก ความมีระเบียบ
วินัยในที่สาธารณะ ๔. ผูใหญในสังคมไมเปนแบบอยางที่ดีและเปนพฤติกรรมลอกเลียนแบบใหกับเด็ก
ตลอดจนคนในชาติจึงทําใหขาดความนาเชื่อถือตอนโยบายดังกลาว และยังสงผลใหเกิดปญหาใน
ระดับชาติตามมาอีกมากมาย
สําหรับการวิเคราะหแนวทางการสรางเอกลักษณไทยใหมใหคนไทยมีระเบียบวินัยในที่
สาธารณะ ตามขั้นตอน A (Action) ทฤษฎีPDCA นั้นมีผลดังนี้ ๑. การศึกษา ซึ่งเปนเครื่องมือสําคัญ
ในการปลูกฝงคนในชาติใหมีระเบียบวินัยในที่สาธารณะ โดยการสอนความเปนพลเมือง (Civic
Education) ซึ่งอาจจะตองใชระยะเวลายาวนานเปนชวงชีวิต ๒. การรณรงคประชาสัมพันธอยาง
เขมขนและตอเนื่องยาวนาน ๓. กฎหมายเปนแนวทางมาตรฐานสากลที่ใชกันอยูในทุกประเทศ แตก็
เปนแนวทางที่ไมยั่งยืน เพียงแตตองการใหคนกระทําความผิดหลาบจํา จึงควรใชวิธีนําเทคโนโลยี
สมัยใหมมาใชรวมกับการปฏิบัติตามขอบังคับตามกฎหมายอยางเขมขน ๔. แนวทางการมีสวนรวม
ของภาคประชาชนในการสอดสองผูไมประพฤติในระเบียบวินัยในที่สาธารณะตามขอกําหนดของข
กฎหมายโดยมีรางวัลการนําจับ ๕. แนวทางการยกยองคนดีมีระเบียบวินัยในที่สาธารณะเพื่อใหสังคม
รับรูในทุกระดับสังคมถึงระดับประเทศ สําหรับขอเสนอแนะ ประกอบดวย ๑. การดําเนินงานในระยะ
สั้น โดยรัฐบาลตามมติคณะรัฐมนตรีควรกําหนดนโยบาย “New Thai People” เปนวาระแหงชาติ
ในระยะยาว เพื่อเปลี่ยนเอกลักษณไทยใหมในการสงเสริมใหคนไทยมีระเบียบวินัยในที่สาธารณะ
และมอบหมายให กระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร และสํานักงานตํารวจแหงชาติ รับไป
ดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของอยางจริงจังและตอเนื่อง สําหรับในระยะกลาง โดยการขอความรวมมือ
ทุกภาคสวนรวมสรางสังคมไทยใหมีระเบียบวินัยในที่สาธารณะ ดวยการจัดโครงการใหมีจิตตระหนัก
ในความมีระเบียบวินัยในที่สาธารณะ และจัดประกวดและประชาสัมพันธกิจกรรมการสงเสริมคนดี
สําหรับในระยะยาว ใหกระทรวงศึกษาธิการปฏิรูปการเรียนการสอนในรูปแบบของการคิดวิเคราะห
การกลาแสดงออกในเชิงความคิดเห็น โดยมุงเนนการเรียนการสอนความเปนพลเมือง โดยเฉพาะใน
เรื่องของความมีระเบียบวินัยในที่สาธารณะที่ตองคํานึงถึงประโยชนของสวนรวมใหสอดคลอง
กับนโยบาย “New Thai People” และตาม Slogan ที่คณะกรรมการเอกลักษณของชาติกําหนด
ในแตละปพรอมทั้งมีการประเมินผลและติดตามอยางสม่ําเสมอ
ในการนี้ การศึกษาเพื่อเปลี่ยนเอกลักษณไทยใหมใหคนไทยมีระเบียบวินัยในที่สาธารณะนี้
อาจจะดูเหมือนเปนเรื่องธรรมดาในสายตาของคนทั่ว ๆ ไป แตในมุมของผูศึกษาไดพิจารณาแลวเห็นวา
หากพิจารณาใหลึกซึ้งในประเด็นปญหาดังกลาวแลวจะเห็นวา ความมีระเบียบวินัยในที่สาธารณะเปน
พื้นฐานสําคัญและจําเปนตอการพัฒนาประเทศไปสูประเทศที่พัฒนาแลวตามยุทธศาสตรชาติ๒๐ ป
abstract:
ABSTRACT
Title : Creation of new Thai national identity : Discipline exercise in
public places of Thai citizens
Field : Social Psychology
Name: Miss Oranuch Srinont Course NDC Class 59
A lack of discipline in public places of Thai citizens is one of the
problems hindering Thailand’s transformation into developed country as predestined
in the 20-year National Strategy for that national discipline is a significant foundation
of all developed countries and indicates a quality standard of national human
resources. The researcher thereby has an idea of how to convert an undisciplined
habit in public places of Thai citizens into a discipline one for quality improvement
of Thai citizens to be equivalent to those of civilized countries. This study was
conducted by implementation of PDCA Cycle or Deming Cycle theory. It was found
that Thai government in every era adopted several policies to enhance the discipline
in public places of Thai citizens by enactment of several laws, statutes and
legislations as well as promotion of Thai children’s discipline included in a slogan of
Thailand National Children’s Day. Even though the current government has set 12
core values emphasizing and signifying national discipline and law obedience,
nevertheless, Thai society still suffers recurrences of a lack of discipline in public
places. The formulated rules and measures cannot resolve this problem. Based on
the interview given by populations in both policy level and practice level, it was
found during the C (Check) Process of PCDA theory that the causes of a lack of
discipline in public places consisting of 1.Origins of Thai cultural values which are
comfort preference, self-indulgence, selfishness and inconsiderateness, 2. Thai
Education insufficiently emphasizing upon personally and socially accountable
citizenship, 3. Policies for promotion of discipline in public places in practice have
not been seriously and continuously carried out particularly campaigns fostering
citizens’ consciousness and discipline in public places, 4. Seniors failing to represent
a disciplinary model for their children and national citizens to follow, thus resulting
in a lack of reliability of these policies and several national problems.
According to the outcomes of the analysis during the A (Action) Process
of PCDA theory, the channels to formulate a new Thai identity for improvement of
discipline in public places are as follows: 1. Education is a significant tool for2
implantation of discipline in public places especially for Civil Education which may
take a lifetime of study, 2. Publication campaign should be organized intensively and
continuously, 3. Laws and legislations are an internationally standard channel
implemented in every country; nonetheless, these laws and legislations are not a
sustainable solution but merely intend to chasten the offenders; a new technology
should be utilized along with serious legal compliance, 4. Participation of citizens in
invigilation of a breach of discipline in public places according to the legal provisions
with awarding of bounty, and 5. Admiration of excellent discipline in public places for
recognition of society of all levels. The suggestions are 1. Short-term operation
whereby the government in conformity to the cabinet’s resolutions should establish
“New Thai People” Policy as a long-term national agenda in order to change Thai
identity regarding improvement of Thai citizen’s discipline in public places and assign
the Ministry of Interior, Bangkok Metropolitan Administration and Thai Royal Police to
seriously and consistently carry on such relevant matters, 2. For an intermediate
stage, the government should ask for collaboration from all sectors to jointly exercise
discipline in public places, arrange projects for awareness of discipline in public
places, hold contests, and publicize the activities, and 3. For a long-term plan,
the Ministry of Education should reform Thai education into analytical thinking and
assertive opinion focusing on Civil Education especially in discipline in public places
for common interests to be in line with “New Thai People” Policy and slogan of
each year as designated by the Commission of National Identity as well as
continuously evaluates and follows up the outcomes and achievements.
In this regard, this study to change Thai identity of discipline in public
places may seemed to be ordinary in the view of general public. However, the
researcher deems that upon consideration of such problem in depth, discipline in
public places are a significant element and essential for national growth into
developed country according to the 20-year National Strategy.