Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี เพื่อการจ้างงานโดยถูกกฎหมาย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อรเทพ อินทรสกุล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี เพื่อการจ้างงานโดยถูกกฎหมาย ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ ผู้วิจัย นาย อรเทพ อินทรสกุล หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙ การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี เพื่อการจ้างงานโดยถูกกฎหมายจึงเกี่ยวกับตลาดแรงงาน อาเซียน สภาพการท างาน ความปลอดภัยในการท างาน สังคมแรงงาน การย้ายถิ่นของแรงงาน การโยกย้ายฐานการผลิต สภาพการจ้างงาน การว่างงาน ค่าจ้าง การเพิ่มมูลค่าของสินค้า และบริการ และปัญหาเกี่ยวกับแรงงานกับรัฐ ผู้วิจัยได้ก าหนดวัตถุประสงค์การวิจัยไว้ ดังนี้ เพื่อศึกษาการ เคลื่อนย้ายแรงงานเสรีในอาเซียน เพื่อศึกษาปัญหา และอุปสรรคการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี และเพื่อ ศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหา และอุปสรรคการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ในอาเซียนถูกก าหนดโดยข้อตกลงยอมรับร่วมในเรื่องคุณสมบัติวิชาชีพอาเซียน(Mutual Recognition Arrangements: MRAs) รวมทั้งข้อตกลง MRA ในสาขาบริการและการท่องเที่ยว มีเป้าหมายเพื่อช่วย ให้แรงงานวิชาชีพอาเซียนสามารถเคลื่อนย้ายเข้าไปท างานในประเทศอาเซียนอื่นได้สะดวกมากขึ้น โดยการหาจุดยอมรับร่วมกันในเรื่องคุณสมบัติของแรงงานวิชาชีพอาเซียนให้สามารถยื่นค าขอ ใบอนุญาตท างานในประเทศอาเซียนได้โดยไม่เสียเวลาตรวจสอบคุณสมบัติซ้ า ทั้งนี้แรงงานวิชาชีพยัง ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อก าหนดที่เกี่ยวข้องของประเทศที่เข้าไปท างาน ในกรณีปัญหา และ อุปสรรคการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี สรุปได้ดังนี้ ปัญหาด้านความมั่นคง ปัญหาด้าน ปัญหาด้านสังคม ปัญหาด้านเศรษฐกิจ โดยมีแนวทางในการแก้ไขปัญหา สรุปได้ดังนี้แนวทางแก้ไข เพื่อประโยชน์ในการ ร่วมกันรับผิดชอบเรื่องความต้องการแรงงานต่างด้าวในอนาคตระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน ควรตั้ง องค์กรด้านการจ้างแรงงานแรงงานต่างด้าวร่วมกันระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชนเพื่อการเก็บรวมรวบ ข้อมูลเรื่องการจ้างงานแรงงานต่างด้าว กรณีปัญหาการลักลอบเข้าเมืองเพื่อหางานท าในประเทศไทยของ แรงงานต่างด้าว แนวทางแก้ไขเพื่อให้เป็นไปตามหลักสากลในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว การป้องกันการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนของแรงงานต่างชาติ รวมถึงเรื่องการค้ามนุษย์ รัฐควรจัดสรรต าแหน่งงาน และน า ข้อมูลความต้องการแรงงานไปจัดท าข้อตกลงในการจัดส่งแรงงานแบบรัฐต่อรัฐ เพื่ออ านวยความ สะดวกในการเคลื่อนย้ายแรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ โดยไม่อนุญาตให้มีนายหน้าจัดหางานเรียกค่าหัว แรงงานอย่างไม่เป็นธรรม และรัฐควรยุติการพิสูจน์สัญชาติแรงงานต่างด้าวคราวละ ๒ ปีโดยการท า ข้อตกลงแบบภายในประชาคมอาเซียนในการเปลี่ยนผ่านจากการพิสูจน์สัญชาติแรงงานต่างด้าวคราว ละ ๒ ปีมาเป็นการน าเข้าแรงงานต่างด้าวถูกกฎหมาย ซึ่งมีฐานข้อมูลแรงงานต่างด้าวฐานเดียวกันที่ สามารถใช้ข้อมูลเดียวกันได้ภายในประชาคมอาเซียน และต้องเปิดตลาดแรงงานอย่างเต็มที่เมื่อสิ้นสุด ระยะเวลาตามที่ตกลงกัน นอกจากนี้ รัฐควรการเปิดเสรีเกี่ยวกับแรงงานฝีมือที่ประกอบอาชีพอยู่ใน ประเทศไทย

abstract:

0