Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางปรับปรุงโครงสร้างระบบงานกิจการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี อนิรุจน์ มัสโอดี
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

- ก - บทคัดย อ บทคัดย อ เรื่อง แนวทางปรับปรุงโครงสรางระบบงานกิจการอุตสาหกรรมป องก เรื่อง ันประเทศของ ประเทศไทย ผูวิจัย พลตรี อนิรุจน) มัสโอดี หลักสูตร ผูวิจัย หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุ นที่ รุ นที่ รุ นที่ ๕๙ ตําแหน ง รอง จก.อท.ศอพท. ตําแหน ง เป.นที่ทราบกันดีว าอุตสาหกรรมป องกันประเทศ คือ ป/จจัยสําคัญในการส งเสริมความ มั่นคงและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหกับประเทศนั้น ๆ แต สําหรับประเทศไทยแลว อุตสาหกรรม ป องกันประเทศกลับกลายเป.นอุตสาหกรรมที่ไม ปรากฏชื่อในระบบอุตสาหกรรมของประเทศไทย ในขณะที่หลาย ๆ ประเทศไดใหความสําคัญอย างมากต ออุตสาหกรรมป องกันประเทศ เช น กลุ มประเทศที่จัดอยู ในกลุ มประเทศชั้นนํา หรือ “First Tier” ซึ่งเป.นประเทศที่มีอุตสาหกรรมป องกัน ประเทศสมบูรณ)แบบและครบวงจร สามารถพัฒนาองค)ความรูต อยอดไดถึงระดับสูงสุด เช น ประเทศ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย จีน และกลุ มประเทศยุโรปตะวันตก ส วนกลุ มประเทศที่จัดอยู ในชั้นที่ ๒ หรือ “Second Tier” ที่มีอุตสาหกรรมป องกันประเทศครบวงจร แต ยังไม สามารถพัฒนาองค)ความรู ต อยอดไดถึงระดับสูงสุดดวยขอจํากัดบางประการ เช น ขอจํากัดดานเศรษฐกิจ หรือการเมือง ตัวอย าง ประเทศในกลุ มนี้ ไดแก ประเทศเกาหลีใต อินเดีย บราซิล อาร)เจนติน า อิสราเอล ออสเตรเลีย สิงคโปร) แคนาดา และแอฟริกาใต โดยภาคอุตสาหกรรมป องกันประเทศของทั้งสองกลุ มนี้ มีขนาด ใหญ สามารถนํารายไดเขาประเทศอย างมหาศาล นอกจากนี้ยังสรางความมั่นคงในลักษณะของการ พึ่งพาตนเองไดอีกดวย สําหรับประเทศไทย จัดอยู ในกลุ มชั้นที่ ๓ หรือ “Third Tier” ซึ่งมีความสามารถที่จะ ผลิตยุทโธปกรณ)ไดเพียงบางส วน เนื่องจากสถานภาพของอุตสาหกรรมป องกันประเทศของไทยใน ป/จจุบันเป.นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก มีขีดความสามารถเพียงเพื่อการซ อมบํารุง และสรางอาวุธ ยุทโธปกรณ)บางประเภทสนับสนุนใหแก กองทัพเท านั้น หากพิจารณาจํานวนโรงงานอุตสาหกรรม ป องกันประเทศในสังกัดกระทรวงกลาโหม ซึ่งมีจํานวน ๔๘ โรงงาน โดยอยู ในสังกัดของกองทัพบก ๒๑ โรงงาน กองทัพเรือ ๗ โรงงาน กองทัพอากาศ ๑๒ โรงงาน กองบัญชาการกองทัพไทย ๑ โรงงาน และสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ๘ โรงงาน นอกจากนี้ยังมีอุตสาหกรรมป องกันประเทศใน ภาคเอกชนอีกประมาณ ๖๐ บริษัท ซึ่งส วนมากเป.นบริษัทที่รับซ อมแซม ปรับปรุง หรือผลิต ยุทโธปกรณ)ทางทหารบางประเภท เช น วัตถุระเบิด เชื้อปะทุ กระสุนปXน รถยนต)นั่งกันกระสุน ยานพาหนะช วยรบ เสื้อเกราะป องกันกระสุน แอมโมเนียมไนเตรต ไนโตรเซลลูโลส รวมถึง อุตสาหกรรมต อและซ อมเรือ ซึ่งบริษัทเหล านี้ส วนมากยังไม มีขีดความสามารถสูงพอที่จะส งออกสินคา หรือแข งขันในตลาดสากลไดสภากลาโหมไดพิจารณาแผนแม บทการปฏิรูปการบริหารจัดการปรับปรุง โครงสรางกระทรวงกลาโหม ๒๕๕๘-๒๕๖๗ ระยะเวลา ๑๐ ปY เพื่อใหสอดรับกับยุทธศาสตร)ป องกัน ประเทศ โดยเนนความคล องตัว ทันสมัย ปฏิบัติภารกิจที่มีความหลากหลายเพื่อใหกระทรวงกลาโหมมี การปฏิรูปไปในทิศทางเดียวกัน มีความเป.นเอกภาพ ทั้งทางความคิดและการปฏิบัติ โดยเนน ผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงาน ตอบสนองเป าหมายและวิสัยทัศน) รวมถึงปรับโครงสราง ปรับโอนแปร - ข – สภาพ ยุบเลิก ปรับมาตรฐานและเพิ่มความสมบูรณ)เพื่อเพิ่มขีดความสามารถกองทัพใหทัดเทียมใน ภูมิภาค ส วนหนึ่งของแผนแม บท คือ การพัฒนาศักยภาพกองทัพเพื่อนําไปสู การพึ่งพาตนเอง อย างยั่งยืน เช น การพัฒนาระบบกําลังสํารอง อุตสาหกรรมป องกันประเทศ การวิจัยพัฒนา ยุทโธปกรณ) ตามแผนแม บทดังกล าว จึงจําเป.นที่ประเทศไทยตองพัฒนาอุตสาหกรรมป องกัน ประเทศของเราใหเขมแข็งยิ่งขึ้นเพื่อเพิ่มความสามารถในการพึ่งพาตนเอง และเสริมสรางสมรรถนะ ของทุกเหล าทัพในการป องกันประเทศ เพื่อความมั่นคงของชาติทั้งทางดานเศรษฐกิจ การเมือง และ สังคม ในภาพรวมอาจกล าวไดว า อุตสาหกรรมป องกันประเทศของไทยในป/จจุบันยังอยู ใน ระยะเริ่มตน อย างไรก็ตามอุตสาหกรรมป องกันประเทศเป.นอุตสาหกรรมหนึ่งที่เป.นโอกาสและมี ศักยภาพที่จะสรางและพัฒนาใหตอบสนองตรงตามความตองการดานยุทโธปกรณ)ของกองทัพ และ ก อใหเกิดประโยชน)ต อภาคเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งหลายประเทศในโลก รวมถึงประเทศอาเซียน เช น มาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร) ก็ไดพัฒนาอุตสาหกรรมดานนี้อย างจริงจัง เพราะนอกจากจะ นํารายไดเขาสู ประเทศ และสรางงานใหแก ประชาชนเช นเดียวกับอุตสาหกรรมประเภทอื่นแลว ยัง เป.นการสรางความมั่นคงในดานการทหารของชาติอีกดวย โดยที่สุดแลว ภาครัฐและภาคเอกชนจะตองร วมมือกันเสริมสรางความแข็งแกร งทั้ง ภายในและภายนอก ผลักดันใหระบบกิจการอุตสาหกรรมป องกันประเทศมีความมั่นคง มีความตื่นตัวและมีมาตรฐานและทิศทางในแนวทางเดียวกัน การที่จะตองสรางความร วมมือที่ แข็งแกร ง นโยบายที่เป.นรูปธรรมปฏิบัติได ตลอดจนความรูความเขาใจในดานการดําเนินธุรกิจของ นความรูความเขาใจในดานการดําเนินธุรกิจของ อุตสาหกรรมป องกันประเทศ อุตสาหกรรมป องกันประเทศตั้งแต การบริหารจัดการ ตั้งแต การบริหารจัดการ ตั้งแต การบริหารจัดการ การตลาด ระบบโลจิสติกส) ฯลฯ การตลาด ระบบโลจิสติกส) ฯลฯ การตลาด ระบบโลจิสติกส) ฯลฯ จึงจําเป.นตองมีการปรับปรุงโครงสรางของอุตสาหกรรมป องกันประเทศของกระทรวงกลาโหม ที่มี ความเหมาะสม มีกระบวนการพัฒนาบนพื้นฐานของภาคเอกชน จึงเป.นจุดสนใจที่ทําใหผูวิจัยมีความ ตองการทราบถึงแนวทางปรับปรุงโครงสรางที่เหมาะสมที่จะช วยผลักดันใหภาคเอกชนสามารถเป.น ฐานการผลิตดานกิจการอุตสาหกรรมป องกันประเทศใหกับกระทรวงกลาโหมไดอย างยั่งยืน รวมทั้ง พิจารณากําหนดองค)ประกอบ อํานาจหนาที่ ในรายละเอียดของโครงสรางดังกล าว ทั้งนี้ เพื่อเป.น หลักประกันความมั่นคงในอนาคต ว าเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ประเทศไทยจะสามารถดํารงขีด ความสามารถในการป องกันประเทศไดดวยตนเอง และสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจใหกับประเทศ สืบไป

abstract:

Abstract Abstract Title Structural Process Development analyzing for Tha Structural Process Development analyzing for Thai’s Defense Defense industry. industry Field Economics Economics Economics Name Major GeneralAniroot Masodee Masodee Masodee Course NDC Class 5 Course NDC Class 5 Course NDC Class 59 Presently defense industry is a significant factor in promoting stability and economic growth for many countries. While many countries have subsidize for defense industry, such industry is not listed in Thailand. Despite the fact that world’s leading nations (First Tier) contribute the industry. These countries have complete and integrated defense industry to the best principle, such as the United States, Russia, China and Western European countries. For second-tier countries or "Second Tier", countries with integrated defense industry but unable to develop knowledge to the highest standard. Second-tier countries including South Korea, India, Brazil, Argentina, Israel, Australia, Singapore, Canada and South Africa. These two Tiers can generate huge income into their economy and its sense of self-reliance. Thailand ranked in "Third Tier", countries with capable of producing only a few armaments. Currently Thailand's defense industry positions as a small industry. Thailand has capability of maintenance and produce certain armaments to support the army. In government sector contains 48 factories which control by the Ministry of Defense, of which 21 are under the jurisdiction of the Royal Thai Army, 7 factories under Royal Thai Navy, 12 factories under Royal Thai Air Force, 1 factory under Royal Thai Armed Forces Headquarters and 8 factories under the Office of The Permanent Secretary for Defense. Private sector contains about 60 factories, mostly restoration companies. Some of the factories can produce of certain types of armaments, such as explosives, detonators, ammunition, armed vehicle, ammonium nitrate, nitro cellulose and shipbuilding industry. Most of these factories are incapable of exporting their products and compete in the international market. The Defense Council of Thailand has considered a 10-year period master plan for the Ministry of Defense structure to accordance with the Defense Strategy of Thailand. The plan is to emphasis innovation and mobility to sustenance the diverse missions. The master plan propose is to form the unity among assumption and practice with the emphasis on the operational achievement. Also concentration on จ goals and vision Include restructuring, modification, transference, renovate, dissolve, standardize, and enhance integrity to improve the arm forces competences to meet regional standard. Part of the master plan is to develop the military’s abilities for sustainable self￾sufficiency, such as the improvement of the reserve force system, defense industry and weapon development. According to the master plan, Thailand must develops the defense industry to enhance its self-reliant ability. Also strengthen the competence of arm forces for national security in terms of politics, economy and society. The important factors for guideline research and development is by preparing the methods to enhancing the performance of arm forces and increasing Self-reliance competency. In addition, the development of public-private partnerships and budget allocation can deliver the needs for arm forces. It also allows Thailand to become independence from procurement of foreign armaments. Thai’s defense industry must develop ability to produce products with quality and standards to carry out Self￾reliance. Thailand's defense industry is still in its underdevelopment stages. However, this industry has the potential for development to meet the needs of the arm forces. This will bring reimbursements to the economy of the country. Many countries in the world as in ASEAN community (Malaysia, Indonesia and Singapore) has been seriously developed the defense industry. This it will bring revenue into the country by creating jobs opportunity as well as other industries. It also provides the stability for the national arm forces. In conclusion public and private sectors must coordinate together both internal and external perception to push the defense industry to lasting in development and moving to the same directions to meet the international standard. Concrete policies that practicable for business practices of the defense industry must be generate including all perspective of management, marketing, logistics, etc. It is necessary to improve the defense industry structure that is appropriate for private sector. It is the key factor that the researcher analyzing the appropriate structural modifications that will enable the private sector to be a sustainable to invest in defense industry for the Department of Defense. The policy structure must be reconsideration to guarantee the future of this industry and to create economic stability as for during state of emergency Thailand can maintain defense competencies.