เรื่อง: การพัฒนาสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) สู่สากล
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อธิโชค วินทกร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การพัฒนาสินคาหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) สูสากล เรื่อง
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ลักษณะวิชา
ผูวิจัย ผูวิจัย นายอธิโชค วินทกร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุนที่ รุนที่ รุนที่ ๕๙
รัฐบาลไทยมีความมุงหวังที่จะใชนโยบายหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP)
เป9นกระบวนการสําหรับการยกระดับคุณภาพชีวิตความเป9นอยู เพิ่มโอกาสใหประชาชน ลดป:ญหา
ความเหลื่อมล้ําทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคม โดยไดมีนโยบายเพื่อสนับสนุนดานการพัฒนา
ผลิตภัณฑ ทุกชองทาง สําหรับวัตถุประสงค ของการวิจัยนี้ ประกอบดวย ๑. เพื่อศึกษาป:ญหาและ
อุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย ๒. ติดตามพัฒนาการของผูประกอบการและผลลัพธ นโยบาย
และ ๓. ศึกษาความเกี่ยวของของการดําเนินงาน OTOP กับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในประเทศไทย
การวิจัยฉบับนี้ ดําเนินการวิจัยในรูปแบบการดําเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)
ทําการศึกษาเพื่อวิเคราะห หาความเชื่อมโยงจากขอมูลของ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
และสัมภาษณ เชิงลึกผูบริหาร เกี่ยวกับการดําเนินนโยบายเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจในชุมชน
โดยโครงการพัฒนาผูประกอบการและผลิตภัณฑ OTOP ศึกษาผลกระทบที่มีตอสภาพสังคมและ
เศรษฐกิจในชุมชนของประเทศไทย และการพัฒนาผลิตภัณฑ OTOP สูตลาดสากล สําหรับผลการ
ดําเนินนโยบายการพัฒนาสินคาหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) สูสากล ผานกรมการพัฒนาชุมชน
ของรัฐบาล พบวา มีการนําทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่นมาใชใหเกิดประโยชน เพิ่มมากยิ่งขึ้น
มียอดจําหนายผลิตภัณฑ OTOP มูลคามากกวา ๑.๒๕ แสนลานบาท ณ สิ้นปQงบประมาณพ.ศ.๒๕๕๙
ซึ่งไดทําใหมีการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยเกิดการจางงาน การซื้อขายแลกเปลี่ยน
สินคา สงผลใหมีการกระจายรายไดสูชุมชนในแตละพื้นที่ที่ประกอบอาชีพเกี่ยวเนื่องกับการผลิตและ
จําหนายผลิตภัณฑ OTOP ทําใหเศรษฐกิจในชุมชนมีความเขมแข็ง สามารถพึ่งตนเองไดอยางไรก็ตาม
รัฐบาลควรเปTดโอกาสใหผูประกอบการรายใหมเขามามีสวนรวมกับโครงการฯ นี้ใหเพิ่มมากขึ้น
ซึ่งจะชวยทําใหผูประกอบการที่เขารวมไดพัฒนาตนเอง อีกทั้งยังเป9นการพัฒนาใหผลิตภัณฑ OTOP
มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ควรมีการสงเสริมการพัฒนาชองทางการตลาดในรูปแบบ
ใหมๆ เพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของตลาดและพฤติกรรมของผูบริโภค โดยการสรางความรวมมือ
กับภาคเอกชนในภาคสวนตางๆ ผานนโยบายสานพลังประชารัฐจะเป9นอีกชองทางหนึ่ง ที่สามารถนํา
ความเชี่ยวชาญของแตละภาคสวน มาชวยสําหรับการพัฒนาผูประกอบการรวมถึงพัฒนาและแกไข
จุดออนของผลิตภัณฑ OTOP อีกดวย
abstract:
ABSTRACT ABSTRACT BSTRACT
Title : One Tumbol One Product
Field : Economics
Name : Mr. Atichoke Wintakorn Course NDC Class 59
The Royal Thai government has a vision by implementing a policy which
is called “One Tumbol One Product”. The policy aimed to increase Thai people’s
living standard, equally diversify opportunities for all, and reduce social gaps. As a
result, this research has three main objectives to study: 1. To study problems and
obstacles from the policy, 2. To follow OTOP producer’s development, and 3. To
study the relationship between the result of policy and Thai local economy. This
research has followed a qualitative research approach to examine the relationship
among the data from the Community Development Department (CDD). Moreover, an
in-depth interview from executive positions in the ministry of interior has been
conducted to acquire different opinions on how to improve Thai local economy
through the OTOP policy. Furthermore, the effectiveness of the polity has shown by
a significant improvement in the usage of related supplies which are produced from
people who live in local communities. In addition, the overall revenues, which were
collected from selling OTOP’s products in 2015, have passed 125 billion Baht. This
number can be described as the successes of the OTOP initiative because many
local Thai people were employed to produce OTOP goods and products. These
activities can help communities by creating a source of income for those who
participate in the OTOP value chains. As a result, the local economy has received
benefits which make it stronger in many aspects. However, the government should
expand the OTOP programs for new entrepreneurs or startups to increase the
number of participants which can help them improve their product’s qualities.
Moreover, new market channels should be created to present OTOP goods and
products to catch a new trend which is rapidly changing from globalization and
different customer behavior. Lastly, collaboration between public and private sectors
could be an important factor that can significantly improve OTOP goods and
products because each sector have their own strengths which may help OTOP
producers to use that knowledge to improve and develop their products.