เรื่อง: การศึกษารูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อดุลชัย รักดำ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย อ บทคัดย อ
เรื่อง การศึกษารูปแบบการจัดการการท องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการท เรื่อง องเที่ยว
อย างยั่งยืน กรณีศึกษาบ!านนาต!นจั่น จังหวัดสุโขทัย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ลักษณะวิชา
ผู!วิจัย นาย อดุลชัย รักดํา ผู!วิจัย หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุ นที่ รุ นที่ รุ นที่ 59
ชุมชนบ!านนาต!นจั่น จังหวัดสุโขทัย เป/นชุมชนที่ประสบความสําเร็จในการบริหาร
จัดการการท องเที่ยวโดยชุมชน ได!รับรางวัลมากมาย จึงทําให!สนใจที่จะทําการศึกษาเรื่อง การศึกษา
รูปแบบการจัดการการท องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการท องเที่ยวอย างยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค4เพื่อศึกษา
ศักยภาพชุมชนบ!านนาต!นจั่นในการจัดการการท องเที่ยวโดยชุมชนอย างอย างยั่งยืน ศึกษาการมี
ส วนร วมของชุมชนในการบริหารจัดการการการท องเที่ยวอย าง ศึกษาสภาพแวดล!อมผลกระทบที่เกิด
จากการท องเที่ยวโดยชุมชม ศึกษาพฤติกรรมและความต!องการของนักท องเที่ยวในชุมชน การวิจัย
ในครั้งนี้ ดําเนินการวิจัยประยุกต4 ใช!วิธีการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ที่เน!นรูปแบบการวิจัย
เชิงปฏิบัติการแบบมีส วนร วมจากชุมชน โดยใช!แบบสอบถามกับกลุ มนักท องเที่ยว จํานวน 205 คน
ตลอดจนสัมภาษณ4เชิงลึกกับนักท องเที่ยว นักวิชาการ บุคลากรภาครัฐ และผู!เชี่ยวชาญด!านการ
ท องเที่ยว ผู!ประกอบการธุรกิจท องเที่ยว สมาคมการท องเที่ยว ผู!นําชุมชน ผู!ใหญ บ!าน ปราชญ4
ชาวบ!าน หัวหน!าชุมชน กํานัน ผู!ใหญ บ!าน จํานวน 20 คน การวิเคราะห4ข!อมูลเชิงปริมาณใช!ค าร!อยละ
ค าเฉลี่ย ค าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข!อมูลเชิงคุณภาพใช!การวิเคราะห4โดยนําเสนอโดยการเขียนบรรยาย
เชิงพรรณนา ซึ่งเป/นการนําข!อมูลที่ได!จากการวิเคราะห4เอกสาร การสัมภาษณ4เชิงลึก ผลการวิจัยพบว า
ความคิดเห็นด!านศักยภาพชุมชมในการจัดการการท องเที่ยว โดยภาพรวมศักยภาพชุมชนในการ
จัดการการท องเที่ยว มีค าเฉลี่ยความคิดเห็นอยู ในระดับมาก เมื่อแยกเป/นรายด!านพบว า ด!านสินค!า
และการบริการ มีค าเฉลี่ยความคิดเห็นอยู ในระดับมากที่สุด ด!านสังคมและวัฒนธรรม ด!านภาครัฐ
และเอกชน ด!านสิ่งแวดล!อม ด!านเศรษฐกิจ และด!านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามลําดับ พฤติกรรมของ
นักท องเที่ยวที่มีต อแหล งท องเที่ยวในจังหวัดสุโขทัย นักท องเที่ยวส วนใหญ มีเดินทางท องเที่ยวแบบ
ส วนตัว วางแผนการเดินทางมาด!วยตนเอง ใช!รถส วนตัวในการเดินทางมาท องเที่ยว มาท องเที่ยว
ในช วงวันหยุด เสาร4-อาทิตย4 ส วนใหญ เดินทางมาท องเที่ยวที่จังหวัดสุโขทัยเป/นครั้งแรกและวาง
แผนการเดินทางใช!เวลา 2 วัน โดยจะเลือกพักที่โรงแรม ทราบข!อมูลการท องเที่ยวผ าน website
วัตถุประสงค4ในการเดินทางมาเพื่อการท องเที่ยว สถานที่ที่เลือกท องเที่ยว คือ การเยี่ยมชมวัดวา
อารามหรือศาสนสถาน แหล งท องเที่ยวที่สนใจไปเยี่ยมชม ได!แก อุทยานประวัติศาสตร4สุโขทัย
วัดชนะสงคราม วัดโสภาราม ค าใช!จ ายที่ใช!ในการเดินทางมาครั้งนี้ น!อยกว า 5,000 บาท ตั้งใจ
เดินทางกลับมาท องเที่ยวที่จังหวัดสุโขทัยอีกครั้งและเดินทางไปจังหวัดกําแพงเพชร นักท องเที่ยวให!
ความคิดเห็นด!านการปรับปรุงและพัฒนา ในด!านการบริหารจัดการด!านการประชาสัมพันธ4และ
การตลาด เผยแพร โปรแกรมเส!นทางการท องเที่ยว ที่มีความชัดเจนและหลากหลาย พัฒนาสินค!า
และการบริการ ให!มีความแปลกใหม มีเอกลักษณ4สุโขทัย และคุณภาพดี และพัฒนาความสัมพันธ4
ระหว างเรื่องเล า (Story) กับสถานที่ท องเที่ยวและชุมชนให!มีความชัดเจน เชื่อถือได! ชุมชนบ!านนา ข
ต!นจั่น จังหวัดสุโขทัย มีการบริหารจัดการด!านการท องเที่ยวอย างเป/นระบบ มีผู!นํา มีสมาชิก มีการ
ประชุม วางแผน และมีการได!รับการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนในการให!ความรู!ด!านการ
ท องเที่ยว อย างไรก็ตามชุมชนบ!านนาต!นจั่นยังคงต!องพัฒนาในด!านของภาษาต างประเทศเพิ่มมากขึ้น
เนื่องจากมีนักท องเที่ยวชาวต างชาติสนใจเข!ามาท องเที่ยวที่จังหวัดสุโขทัย อีกทั้งยังคงต!องพัฒนาด!าน
ของสิ่งอํานวยความสะดวก เช น สัญญาณอินเตอร4เน็ต ปNายบอกทาง เป/นต!น เพื่อให!เกิดการท องเที่ยว
แบบครบวงจรและส งผลให!เกิดการพัฒนาการท องเที่ยวให!เกิดความยั่งยืนต อไป
abstract:
Abstract Abstract
Title The study of tourism management by a community in order to
sustain the tourism Case study – Ban Na Ton Chan in Sukhothai
Province
Field Field Economics
Name Mr.Adoonchai Rakdum Course Name Course NDC Class 59
Ban Na Ton Chan community is successful in managing tourism on their
own guaranteed by several prizes. Therefore, that was brought about the interesting
of researching in tourism management by a community in order to sustain the
tourism. The aim of this research is to study the capacity of the community in
account of tourism management in sustaining tourism, participation of the
community in tourism management, the environment impacts resulted from
community tourism, and behaviors and demands of tourists in the community.
Applied research was conducted in this study by using qualitative and quantitative
analysis methods emphasised on Participatory Action Research (PAR) design. To
obtain data, questionnaires were conducted with 205 tourists and in depth
interviews were performed with 20 people including tourists, scholars, government
personnels, cultural tourism experts, tourism entrepreneurs, tourism associations,
village leaders, the head man of villages, village sages and the the head of
communities. To analyse the qualitative data, percentage, average and standard
deviation were applied. According to the qualitative data, descriptive approach were
conducted in order to demonstrate by using the data from document analyses and in
depth interview results. In this research, it was found that the opinions in terms of
community capacities to manage tourism was obtained in the high average. When it
was separated into parts, in terms of opinion average, products and services were in
the highest positive feedback, following by public and private organizations,
environment, economy, and information technology respectively. According to tourist
behaviors in Sukhothai Province, the majority of them often traveled privately;
planed how to travel on their own by using private vehicles to travel; and they
usually went on weekend. Moreover, the majority of tourists that firstly traveled to
Sukhothai Province usually spent time in organizing a trip for 2 days for choosing an
accommodation and searching the information about tourist attractions via website in
order to find recommended route for traveling. Tourist attractions which were
generally magnetized were temples or religious places including Sukhothai historical park, Wat Chana Songkhram, and Wat Soparam. Regarding to the expenditure, the
majority of tourists generally spent less than 5,000 Bahts. Besides, most travelers
tended to return to Sukhothai Province again and traveled to Kamphaeng Phet.
Tourists had provided the feedback in order to adjust and develop in public relations
and marketing management; publishing better clarity and variety of recommended
travel routes; improving products and services to be more unique, Sukhothai
signatures and good quality; and explicating the relationship of stories with tourists
attractions and communities to be more clearly and reliable. Ban Na Ton Chan in
Sukhothai Province used systematic tourism management among their community
which was consisted of a leader, members, meeting, organising, and they were
supported by public and private organisations in providing knowledge of tourism.
However, Ban Na Ton Chan still need to be more developed in communicating other
languages as there are several oversea tourists being interested in traveling to
Sukhothai Province. Moreover, they need to improve some facilities such as internet
signal and guide posts in order to approach to integrated tourism and develop
tourism to be more sustainable.