Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของบุคลากร สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว หทัยรัตน์ ยุภาศ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการดําเนินชีวิต ประจําวันของบุคลากรสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นางสาวหทัยรัตน ยุภาศ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาความรูความเขาใจในการนําหลักคิดปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการดําเนินชีวิตของบุคลากรสังกัดสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย และศึกษาวิธีการและแนวทางการนําหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการดําเนินชีวิตของ บุคลากรสังกัดสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาจาก เอกสาร หลักทฤษฎี การสัมภาษณเชิงลึกเพื่อใหไดขอมูลเชิงลึก โดยดําเนินการสัมภาษณผูบริหาร บุคลากร ภายในสํานักงานทรัพยสินฯ ไดแก ผูบริหารระดับสูง ระดับกลาง และบุคลากรที่มีอายุงาน ๕ ปขึ้นไป ซึ่งการสัมภาษณใชคําถามแบบเจาะลึก จะทําใหไดคําตอบอยางละเอียดและตรงประเด็น การกําหนดกลุมตัวอยาง เปนผูบริหารและบุคลากรสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย จํานวน ๘ คน ประกอบดวย หัวหนาฝายระดับ จ.๑ ขึ้นไป หัวหนาแผนกระดับ บ.๓-บ.๕ สัมภาษณ เจาหนาที่ระดับ บ.๑-บ.๒ โดยผูสัมภาษณสอบถามผูใหขอมูลตามแนวคําถามที่วางไว แนวคําถามนี้ เปนคําถามปลายเปดที่ครอบคลุมประเด็นตางๆ ที่ตองการถามรูปแบบการสัมภาษณควรมีลักษณะ เปนการสนทนากันตามธรรมชาติ จากงานวิจัยพบวาผูบริหารระดับสูง ผูบริหารระดับตน และ เจาหนาที่ของสํานักงานทรัพยสินฯ มีความเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปในทิศทาง เดียวกัน ซึ่งมองในภาพรวม พบวามีความเขาใจในระดับมากโดยมีหลักทางสายกลาง พรอมยึดหลัก ๓ หวง ๒ เงื่อนไข ประกอบดวย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุมกันที่ดีภายใตเงื่อนไข ความรู คูคุณธรรม ขอเสนอแนะ คือ การสงเสริมใหบุคลากรทุกคนสามารถรูไดวา การดําเนินชีวิตใน แตละวันของตนเอง ตองคิด และประเมินถึงผลลัพธที่จะเกิดจากการตัดสินใจของตนเอง พรอมเตรียม ตัวอยางไร สําหรับอนาคตหรือความไมแนนอน ของสถานการณรอบๆ ตัว ซึ่งประเด็นนี้ผูวิจัยเห็นวา ควรจะไดมีการใหความรู ที่ถูกตอง การบริหารจัดการเงินออม การบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อให เกิดความสมดุลและยั่งยืนในชีวิตประจําวัน

abstract:

ABSTRACT Title The application of the Philosophy of Sufficiency Economy into the daily life of the Crown Property Bureau staff Field Social - Psychlogy Name Hatairat Yupas Course NDC Class 59 This research, “The application of the Philosophy of Sufficiency Economy into the daily life of the Crown Property Bureau staff, aims to study the knowledge and understanding of the Crown Property Bureau staff towards application of the Philosophy of Sufficiency Economy in their daily life along with approaches and methods of the application of the Philosophy of Sufficiency Economy. This is a qualitative research which requires a review of documents and in-depth interviews. As for in-depth interviews were conducted with 8 interviewees , consist of the Crown Property Bureau managements and officers with 5 or more years of service. The research shows that the Crown Property Bureau managements and officers correspondingly understand the concept of Philosophy of Sufficiency Economy at high level. Also they regularly live their life on the middle path along with applied 3 key components: moderation, reasonableness, and a self- immunity on the knowledge and integrity condition. The researcher ,hereby, suggests that the knowledge of money saving and risk management should be delivered to the Crown Property Bureau staff , including all management levels and officers to pursue a balanced and sustainable way of living.