เรื่อง: การบังคับใช้พระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอย่างยั่งยืน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย โสภณ ทองดี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย อ บทคัดย อ
เรื่อง การบังคับใชพระราชบัญญัติส งเสริมการบริหารจัดการทรัพยา เรื่อง กรทางทะเลและชายฝ !งอย างยั่งยืน
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร'และเทคโนโลยี ลักษณะวิชา
ผูวิจัย นายโสภณ ทองดี ผูวิจัย หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุ นที่ รุ นที่ รุ นที่ ๕๙
ตําแหน ง รองอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ !ง ตําแหน ง
ป จจุบันกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ !งมีอํานาจ หนาที่ในการสงวน อนุรักษ' ฟ56นฟู
บริหารจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ !ง รวมทั้งป8าชายเลนเพื่อใหมีความอุดมสมบูรณ' สมดุล มั่งคั่ง
และมีใชอย างยั่งยืน ซึ่งพระราชบัญญัติที่มีอยู เดิมนั้น เป;นส วนเฉพาะภารกิจของแต ละหน วยงาน
ขาดลักษณะบูรณาการ และมีลักษณะเป;นไปเพื่อการบังคับใชเฉพาะเรื่องเป;นไปแบบแยกส วน และมี
เพียงอํานาจในการบังคับใชบางมาตราเท านั้นดังนั้นจึงศึกษาหาแนวทางการบังคับใชพระราชบัญญัติ
ส งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ !งอย างยั่งยืน โดยศึกษาทั้งป ญหาก อนและหลัง
การประกาศใชพระราชบัญญัติส งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ !ง พ.ศ. ๒๕๕๘
ผลจากการศึกษา เจาหนาที่ระดับนโยบายและระดับปฏิบัติของภาครัฐบาลพบว า ในทาง
การปฏิบัติยังไม ชัดเจน เพราะไม มีระเบียบของกฎหมายลูกออกมา รอยละ ๘๗ รองลงมา คือ ควรให
ความรูเกี่ยวกับพระราชบัญญัติสู ชุมชนชายฝ !งใหมากขึ้น คิดเป;นรอยละ ๗๘ ส วนเจาหนาที่องค'กรที่
มิใช รัฐบาล พบว าคือควรใหความรูเกี่ยวกับพระราชบัญญัติสู ชุมชนชายฝ !งใหมากขึ้น คิดเป;นรอยละ
๘๕ รองลงมาคือ ในทางการปฏิบัติยังไม ชัดเจน เพราะไม มีระเบียบของกฎหมายลูกออกมารองรับ
คิดเป;นรอยละ ๘๓
งานวิจัยฉบับนี้ไดใหคําแนะนําแก หน วยงานของรัฐที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ !งของพระราชบัญญัติฯ ในมาตรา ๑๕ (๖), ดําเนินการประสานงานกับ
หน วยงานของรัฐ ที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ !ง เพื่อใหมีการ
ดําเนินการที่สอดคลองกับนโยบายและแผนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ !งแห งชาติใน
มาตรา ๑๕ (๗), แนวทางในการออกกฎกระทรวงเพื่อกําหนดพื้นที่คุมครองทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝ !งในมาตรา ๒๐ และมาตรการคุมครองในมาตรา ๒๓ จากวัตถุประสงค'ของงานวิจัยฉบับนี้ พบว า
ควรพัฒนาโครงสรางองค'กรกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ !ง ใหมีความเหมาะสม ควรเพิ่มอัตรา
กําลังคนบุคลากรใหเพียงพอ ควรบูรณาการดานกฎหมายที่เกี่ยวของใหชัดเจนและเป;นรูปธรรม และ
จัดสัมมนาและอบรมใหรูปแบบที่ประชาชนมีส วนร วมพระราชบัญญัติส งเสริมการบริหารจัดการ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ !ง พ.ศ. ๒๕๕๘ สู ชุมชนชายฝ !งมากขี้น
abstract:
ก
ABSTRACT ABSTRACT
Title: Sustainable Enforcement of the Act on the Promotion of Marine and
Coastal Resources Management
Subject: Science and Technology
Researcher: Mr. Sophon Thongdee Course: NDC Class 59
Position: Deputy Director-General, Department of Marine and Coastal Resources
At present, the Department of Marine and Coastal Resources has the powers and duties to the
preservation, conservation, restoration and management of marine and coastal resources, including
mangrove forests to ensure its abundance, balance, healthy and sustainability. Former acts are sectoral, lack
of integration and empowered to enforce only specific sections of the Acts. The study was, therefore,
aimed to find a sustainable enforcement approach of the Act on the Promotion of Marine and Coastal and
Resources Management. The study examined enforcement-related problems before and after the
proclamation of the Act on the Promotion of Marine and Coastal and Resources Management, BE 2558.
The results found that government officials at both policy and practitioner level viewed that
there were no clear practical guidelines as subordinate law is yet to be issued (87%), followed by
suggestion to increase the disseminate knowledge related to the Act to the coastal communities (78%).
On the contrary, non-governmental officers suggested to increase the disseminate knowledge related to
the Act to the coastal communities (85%), followed by having no clear practical guidelines as subordinate
law is yet to be issued (83%).
This research provided recommendation to government agencies related to the Act on the
Promotion of Marine and Coastal and Resources Management, BE 2558, Section 15(6) to assist and
advise State agencies relevant to marine and coastal resources management; Section 15(7) to coordinate
with State agencies relevant to marine and coastal resources management in order to take actions in
accordance with the national policy and plan on marine and coastal resources management; Section 20
to issue Ministerial Regulation to designate the area to become a marine and coastal resources protected
area; and Section 23 to specify protection measures. The research found that organizational structure of
the Department of Marine and Coastal Resources should be properly developed, ensuring sufficient
manpower. Furthermore, relevant legislations should be clearly and concretely integrated, and public
participation seminars and trainings for coastal communities should also be conducted to enhance the
understanding of the Act on the Promotion of Marine and Coastal and Resources Management, BE 2558.