เรื่อง: การขับเคลื่อนการคุ้มครองเด็กในระดับพื้นที่โดยใช้รูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนคุ้มครองเด็ก
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง สุภัชชา สุทธิพล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การขับเคลื่อนการคุมครองเด็กในระดับพื้นที่โดยใชรูปแบบการเสริมสรางความเขมแข็ง
ของชุมชนคุมครองเด็ก
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นางสุภัชชา สุทธิพล หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
การศึกษา “การขับเคลื่อนการคุมครองเด็กในระดับพื้นที่โดยใชรูปแบบการเสริมสรางความเขมแข็ง
ของชุมชนคุมครองเด็ก” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงปญหา อุปสรรค ของการนํารูปแบบการเสริมสราง
ความเขมแข็งของชุมชนคุมครองเด็กไปใช และเพื่อปรับปรุงรูปแบบการเสริมสรางความเขมแขงของชุมชน
คุมครองเด็กที่สามารถนําไปใชในการขับเคลื่อนงานคุมครองเด็กในระดับพื้นที่ไดอยางเปนผล การศึกษาครั้งนี้
เปนการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะหและสรุปปญหาจากแหลงขอมูลทุติยภูมิ ไดแก นโยบาย แผนงานดาน
การพัฒนาและคุมครองเด็ก กฏหมายที่เกี่ยวของ รูปแบบการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนคุมครองเด็ก
ซึ่งมีตัวแปรสําคัญที่มีผลตอการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนคุมครองเด็ก ๕ ตัวแปร ไดแก เปาหมายรวม
ตัวแสดง เครือขาย บทบาทหนาที่ และปจจัยเกื้อหนุน นอกจากนี้ ยังศึกษาจากแหลงขอมูลปฐมภูมิ ซึ่งเก็บรวบรวม
ขอมูลจากการสัมภาษณเชิงลึก ผูบริหาร ผูปฏิบัติงาน ในระดับพื้นที่ ๔ ภาค ๔ จังหวัด ไดแก ๑) เทศบาลตําบล
สันมะคา อําเภอปาแดด จังหวัดเชียงราย ๒) เทศบาลตําบลสมเด็จ อําเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ๓) องคการ
บริหารสวนตําบลหนองโพ อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี๔) องคการบริหารสวนตําบลกลาย อําเภอทาศาลา
จังหวัดนครศรีธรรมราช
ผลการศึกษาพบวา ยังคงมีปญหาและอุปสรรคในการทํางานที่ยังขาดความรูความเขาใจที่ชัดเจน
ในบทบาทหนาที่ของแตละตัวแสดงที่เกี่ยวของ ขาดการเชื่อมโยงบูรณาการ ขาดงบประมาณเพื่อสนับสนุนในการ
ทํางาน ตลอดจนการไมเห็นความสําคัญของการคุมครองเด็กในพื้นที่
ดังนั้น จึงควรกระตุนใหผูบริหารใหความสําคัญกับงานคุมครองเด็ก การอบรมสรางความรู
ความเขาใจในรูปแบบการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนคุมครองเด็กแกผูปฏิบัติงานในหนวยงานตาง ๆ
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพผูทํางาน การขยายผลการคุมครองเด็กใหแพรหลาย โดยการพลักดันใหมีการบรรจุรูปแบบ
ดังกลาวในแผนงานและยุทธศาสตร ของหนวยงานที่เกี่ยวของ ตลอดจนการสงเสริมการทํางานในลักษณะเครือขาย
บูรณาการการทํางานรวมกัน และการสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินงานการคุมครองเด็กในพื้นที่
abstract:
ABSTRACT
Title Dismissal child protection in the community by using the strengthening of
child protection in community model
Field Social - Psychology
Name Mrs.Supatcha Suttipol Course NDC Class 59
This study “Dismissal child protection in the community by using the
strengthening of child protection in community model” has two objectives. First,
study the problems of the strengthening of child protection in community model
and another one is how to improve and apply as a result. This study 5 qualitative
study by analysis and summed up the problem from secondary sources include
policy, plan about child’s development and protection, relevant law. The
strengthening of child protection in community model, there are 5 variables
influencing to the strengthening child protection which are common goal, working
staff, network, Role and support factor. In addition, study from primary sources which
collect data from manager and practitioner from 4 areas 4 province: Sanmaka sub
district Chiangrai province, Somdet sub district Kalasin province, Nong – Po sub
district Ratchaburi province and Glay sub district Nakornsrithammarat province. This study found unclearly conception of working staffs on the
strengthening of child protection in community model, lack of integration link, lack of
budget support work, do not see the importance of child protection in the area. The improvement methods of the strengthening of child protection in
community model are executives give priority of child protection, training courses for
working staffs and model advertisement, push the strengthening of child protection
in community model in the plan or strategy of sub – district and promote working by
network, integration work and support budget for working child protection.